ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2566
การปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองแบบมัธยวิภาค (Decentralisation) ให้อำนาจการออกแบบและดูแลเป็นของท้องถิ่นนั้นๆ ในระบบเทศบาล โดยมีระบบสภาเทศบาลและคณะมนตรีดูแลกิจการต่าง ๆ เหมือนรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
20
กรกฎาคม
2566
แนวคิดเสรีนิยมประชาธิปไตย ปรากฏอยู่ในการรับรู้ของชนชั้นนำสยามและราษฎรตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จากการเผยแพร่ของ The Bangkok Recorder ได้สร้างคุณูปการต่อการศึกษารัฐธรรมนูญของชนรุ่นหลังและเป็นส่วนหนึ่งที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัตน์ 2475
18
กรกฎาคม
2566
    ที่ สปพ. 045/2566 18 กรกฎาคม 2566 เรื่อง   จดหมายเปิดผนึกถึงประธานรัฐสภา กรณีสมาชิกวุฒิสภาอภิปรายพาดพิงถึงคณะราษฎรและประวัติศาสตร์ 2475 เรียน   ประธานรัฐสภา สิ่งที่ส่งมาด้วย เอกสารถ้อยคำในการอภิปรายของนายสมชาย แสวงการ สมาชิกวุฒิสภา ภาพประกอบการอภิปราย  
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
ชีวิต-ครอบครัว
8
กรกฎาคม
2566
เสมือนว่าสถานการณ์ต่างๆ จะคลี่คลายและสงบลง แต่แล้วกลุ่มรัฐประหาร 2490 กลับต้องการล้มรัฐบาล จึงบุกมาที่บ้าน หวังจับพ่อของปลาย แต่ไม่สำเร็จ พ่อของปลายหลบหนีไปได้และลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ ครอบครัวของปลายก็ต้องโยกย้ายถิ่นฐานด้วยเช่นกัน
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ชุดคำอธิบายของ "การรัฐประหาร" โดยทั่วไปมักถูกนิยามว่าเป็นการใช้กำลังของกองทัพเข้าถอดถอนรัฐบาลเดิม ฉีกรัฐธรรมนูญ แต่สำหรับในปัจจุบันมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ดังปรากฏการวิเคราะห์และศึกษาขั้นตอนของการรัฐประหารผ่านรัฐธรรมนูญ (Constitutional coup) โดยเฉพาะในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2560
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ย้อนกลับไปวันนี้เมื่อ 109 ปีที่แล้ว วันที่ 30 มิถุนายน ในปี ค.ศ. 1914 ‘โมฮันดาส กรามจันทร์ คานธี’ หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อว่า ‘มหาตมะ คานธี’ ได้ถูกจับกุมคุมขังครั้งแรกหลังจากพยายามรณรงค์ต่อสู้เรียกร้องสิทธิของชาวอินเดียในแอฟริกาใต้
Subscribe to การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475