ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ชุดคำอธิบายของ "การรัฐประหาร" โดยทั่วไปมักถูกนิยามว่าเป็นการใช้กำลังของกองทัพเข้าถอดถอนรัฐบาลเดิม ฉีกรัฐธรรมนูญ แต่สำหรับในปัจจุบันมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ดังปรากฏการวิเคราะห์และศึกษาขั้นตอนของการรัฐประหารผ่านรัฐธรรมนูญ (Constitutional coup) โดยเฉพาะในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2560
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ย้อนกลับไปวันนี้เมื่อ 109 ปีที่แล้ว วันที่ 30 มิถุนายน ในปี ค.ศ. 1914 ‘โมฮันดาส กรามจันทร์ คานธี’ หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อว่า ‘มหาตมะ คานธี’ ได้ถูกจับกุมคุมขังครั้งแรกหลังจากพยายามรณรงค์ต่อสู้เรียกร้องสิทธิของชาวอินเดียในแอฟริกาใต้
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2566
ชวนพิจารณา 4 ประเด็น ได้แก่ อำนาจเก่า ผลประโยชน์ แรงสนับสนุน และการสืบต่อสายธารประชาธิปไตย ปัจจัยทั้งสี่สะท้อนชีวิตของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ นับตั้งแต่ก่อนการอภิวัฒน์จนส่งผ่านมาถึงปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มิถุนายน
2566
เรื่องราวการเปิดประชุมสภาครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายใต้ระบอบใหม่นี้เองฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติดำเนินการนโยบายต่างๆ ผ่านสภาผู้แทนราษฎร เพื่อทำหน้าที่ใช้สิทธิออกเสียงแทนประชาชนทั่วประเทศ
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2566
89 ปี สถาปนามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ย้อนอ่านประวัติศาสตร์ผ่านรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรกว่าจะมาเป็นสถานศึกษาเพื่อราษฎรแห่งแรกของไทย
26
มิถุนายน
2566
ในวาระ 91 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดเสวนา PRIDI Talks #21: “เราจะรักษาชัยชนะก้าวแรกของประชาชน (และก้าวต่อๆ ไป) ไว้ได้อย่างไร?” วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 14.00 - 17.00 น. ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักการเมือง นักวิชาการ และนักเคลื่อนไหวภาคประชาชน ร่วมเป็นผู้เสวนาในครั้งนี้ อาทิ พล.ท.
แนวคิด-ปรัชญา
24
มิถุนายน
2566
อ่านที่มาของการตั้งชื่อของ “คณะราษฎร” ผ่านคำบอกเล่าของนายปรีดี พนมยงค์ เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
บทบาท-ผลงาน
24
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ชี้แจงถึงมูลเหตุ จุดเริ่มต้นของการอภิวัฒน์ 2475 ว่าคณะราษฎรไม่ใช่คนกลุ่มแรกที่มีความคิดเปลี่ยนแปลงการปกครองในสยาม หากแต่เป็นพัฒนาการต่อเนื่องจากเหตุการณ์ ร.ศ. 103 ในสมัยรัชกาลที่ 5 และ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 6 และยังกล่าวถึงการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 กับคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ กล่าวอารัมภบทถึงการอภิวัฒน์ 2475 ว่า “สังคมมนุษย์รวมทั้งสังคมไทยด้วยนั้น จะคงอยู่ได้ก็ต้องอาศัยสัจจะ” ดังนั้น เราควรศึกษาประวัติศาสตร์จากเอกสารแท้จริง (Authentic Document) ไม่ใช่จากนิยายอิงประวัติศาสตร์ พร้อมยกตัวอย่างเอกสารบิดเบือนต่างๆ
Subscribe to การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475