ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

แนวคิด-ปรัชญา
3
มกราคม
2566
เสียงสะท้อนหนึ่งจากการเคลื่อนไหวทางสังคมในโมงยามปัจจุบัน คือการขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคทางเพศแก่ประชาชน เพื่อรองรับแก่คนทุกผู้ทุกนามผ่านรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าเขาเหล่านั้นจะอยู่ในเพศวิถีหรือเพศสภาพใดก็ตาม
แนวคิด-ปรัชญา
30
ธันวาคม
2565
คำอธิบายโดยทั่วไปถึงความแตกต่างของรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ ระหว่างฉบับที่หนึ่ง (24 มิถุนายน 2475) หรือพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พ.ศ. 2475 และฉบับที่สอง (10 ธันวาคม 2475) หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 มักจะชี้ให้เห็นถึงการประนีประนอมระหว่างฝ่ายคณะราษฎรและฝ่ายตัวแทนของระบอบเก่า จนกระทั่งได้ข้อสรุปในเรื่องสำคัญคือ การยอมรับอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นประมุขของรัฐ และทรงใช้อำนาจอธิปไตยนั้นผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
แนวคิด-ปรัชญา
25
ธันวาคม
2565
บทบาทของสตรีในทางการเมือง เป็นอีกหนึ่งเครื่องชี้วัดสำคัญของความเป็นประชาธิปไตยในระดับสากล คุณหญิงจันทนีถือเป็นคุณูปการสำคัญที่ขับเคลื่อนเรื่องสิทธิและเสรีภาพของผู้หญิงในทุกๆ มิติให้มีความรุดหน้ามากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในโมงยามที่เสียงของผู้หญิงนั้นถูกละเลย ถือได้ว่าการทำงานของคุณหญิงจันทนีเป็นอีกหนึ่งจุดเปลี่ยนและรากฐานเพื่อปูทางไปสู่การขับเคลื่อนประเด็นดังกล่าวต่อมาในอนาคต
2
ธันวาคม
2565
หนังสือ ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย ผู้เขียน รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
พฤศจิกายน
2565
Bangkok Theatre Festival 2022 ในธีม "Reimagine" ตลอดจนละครเวทีเรื่อง "๔ แผ่นดินs : The Last Ten Years" การแสดงจาก "กลุ่มละครอนัตตา" และกำกับโดย 'ตั้ว ประดิษฐ ประสาททอง' ตกผลึกความคิดในบริบทการเมือง 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม เพื่อล้อเลียนอมตะวรรณกรรม "สี่แผ่นดิน" ต้นฉบับโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2565
'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' เขียนถึงพิธีฝังหมุดคณะราษฎรในงานรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2479 กับบทความของ 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' สิงห์น้ำหมึกแห่งวรรณกรรมไทย ซึ่งได้เขียนถึงระบอบใหม่ของประเทศและความประทับใจในหมุดคณะราษฎรอันแสดงไว้ในบทความ "ระบอบรัฐธรรมนูญ" และ "ความเสมอภาค" ดังปรากฏในหนังสือพิมพ์ประชาชาติเมื่อกลางธันวาคมของปีเดียวกัน
บทบาท-ผลงาน
16
ตุลาคม
2565
คำบรรยายของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อปลัดจังหวัดและนายอำเภอจำนวนทั้งสิ้น 94 คน คณะผู้จัดการอบรม และบุคคลอื่นๆ ที่สนใจร่วมเข้าฟัง โดยนายปรีดีได้เน้นย้ำความสำคัญของการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญจะสำเร็จได้นั้น ล้วนต้องอาศัยความร่วมมือจากเหล่าข้าราชการท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดประชาชน
บทบาท-ผลงาน
3
ตุลาคม
2565
ความพยายามของรัฐบาลคณะราษฎรในการสร้างความเข้าใจต่อประชาชนสำหรับการเลือกตั้งทางตรงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2480 ผ่านการจัดอบรม ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ให้แก่เหล่าข้าราชการท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดจังหวัด และนายอำเภอ ข้าราชการผู้ใกล้ชิดราษฎรซึ่งถือเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์ต่อการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง
บทบาท-ผลงาน
13
กันยายน
2565
ความพยายามในการสร้างรัฐประชาธิปไตยด้วยการสถาปนารัฐสมัยใหม่ของนายปรีดี พนมยงค์ ภายใต้บทบาทและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองครั้งสำคัญนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 และการสานต่อเจตนารมณ์แห่งการอภิวัฒน์ภายหลังจากนายปรีดีขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489
ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กรกฎาคม
2565
จากต้นปี 2565 จนถึงกลางปี แวดวงวรรณกรรมและศิลปวัฒนธรรม ต้องสูญเสียคนทำงานสร้างสรรค์ที่มีจุดยืนประชาธิปไตยคนสำคัญติดๆ กัน อย่างน้อยถึงสี่ราย
Subscribe to การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475