จอมพล ป. พิบูลสงคราม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
กรกฎาคม
2565
ปรีดี พนมยงค์ ได้ถ่ายทอดเหตุการณ์ระหว่างตอนค่ำ 7 ธันวาคม ถึงตอนเช้า 8 ธันวาคม 2484 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านบันทึกการประชุม ครม. ครั้งสำคัญ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2565
นายปรีดี พนมยงค์ หรือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2481 เรื่อยมาจวบจนกระทั่งวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ภายหลังกองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกรุกเข้ามาในเมืองไทยประมาณหนึ่งสัปดาห์เศษ สภาผู้แทนราษฎรปรึกษาหารือกันพร้อมลงมติแต่งตั้ง นายปรีดี ให้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ถือเป็นการแต่งตั้ง สืบเนื่องจาก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คนเดิมถึงแก่อสัญกรรม
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2565
เนื่องในวาระคล้ายวันเกิด 16 กรกฎาคม ของ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ บุตรสาวคนสุดท้องของครอบครัวปรีดี-พูนศุข ที่ได้รับมรดกทางความคิดและนิสัยรักในความรู้ทางประวัติศาสตร์คล้ายปรีดี พนมยงค์ บิดา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2565
“งานรื่นเริงของพลเมืองในระบอบใหม่” เป็นกิจกรรมสำคัญที่ถูกจัดขึ้นอย่างแพร่หลายในยุคสมัยรัฐบาลคณะราษฎรนับตั้งแต่หลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
บทความ • บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
บทความ • บทบาท-ผลงาน
28
เมษายน
2565
‘ไสว สุทธิพิทักษ์’ ได้ย้อนเรื่องราวถึงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ผูกเงินบาทเข้าไว้กับเงินปอนด์สเตอร์ลิงของอังกฤษมาอย่างยาวนาน ซึ่งการกระทำเช่นนี้นั้น ไม่เป็นผลดีต่อเสถียรภาพเงินตราและความมั่นคงของชาติอย่างแท้จริง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2565
วันนี้เมื่อ 5 ปีที่แล้ว (14 เมษายน 2560) มีข่าวแพร่สะพัดว่า หมุด ‘ก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญ’ หรือเรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ‘หมุดคณะราษฎร’ ได้หายไปจากจุดที่มันเคยอยู่ (จากการติดตามของสำนักข่าวประชาไทระบุมีความเป็นไปได้ที่หมุดจะหายไปในช่วงเวลาระหว่างวันที่ 3-7 เมษายน 2560) เป็นปริศนาจวบจนถึงวันนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
13
เมษายน
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' นำเสนอเรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ที่มาของ "วันขึ้นปีใหม่" ในอดีต ไม่ว่าจะเป็น 1 เมษายน 13 เมษายน จนถึงกาลปรับเปลี่ยนในปัจจุบันเป็น วันที่ 1 มกราคม โดยประเด็นสำคัญที่ผู้เขียนนำเสนอนั้น วันที่ 1 เมษายน นอกจากจะเป็นวันปีใหม่แล้ว ยังถูกกำหนดให้เป็น "วันเริ่มต้นปีงบประมาณ" อีกด้วย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม
1
เมษายน
2565
1 เมษายน 2476 วันขึ้นปีใหม่ไทย แต่ ณ ห้วงเวลานั้น ได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกภายใต้ระบอบประชาธิปไตย นำโดยนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย คือ 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' ซึ่งเป็นการรัฐประหารรัฐบาลตัวเอง ที่เรียกกันว่า "รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา"