ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

แนวคิด-ปรัชญา
8
กุมภาพันธ์
2565
-๒- ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๘ ขณะที่ข้าพเจ้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กรมโยธาเทศบาลสมัยนั้น (ที่ได้ตั้งขึ้นโดยรวมกรมทางกับกรมนคราทรเข้าเป็นกรมเดียวกัน มีหน้าที่ในการทางทั่วราชอาณาจักร และการคมนาคมส่วนท้องถิ่น) ได้จัดร่างโครงการทางทั่วราชอาณาจักรตามคำสั่งของข้าพเจ้า เสร็จแล้ว ได้เสนอร่างโครงการนั้นมายังข้าพเจ้าเพื่อพิจารณา 
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2565
สงครามโลกครั้งที่ ๒ เริ่มเกิดขึ้นในทวีปยุโรปเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๔๘๒ โดยกองทัพเยอรมันได้บุกเข้าโจมตีโปแลนด์ และได้รับชัยชนะในประเทศภาคพื้นยุโรปอย่างรวดเร็ว จากนั้นได้โจมตีประเทศอังกฤษทางอากาศ เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๘๓ และบุกเข้าสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๔๘๔ ขณะนั้นสหรัฐอเมริกายังเป็นกลางอยู่
บทบาท-ผลงาน
28
มกราคม
2565
-๑- ภายหลังที่รัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกาดั่งกล่าวแล้ว รัฐบาลก็ดำเนินต่อไปอีกในการผูกมัดประเทศไทยเข้ากับญี่ปุ่นและอักษะมากขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
27
มกราคม
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' ได้เขียนบันทึกถึงท่าทีของประเทศมหาอำนาจสัมพันธมิตรอันเนื่องมาจากการกระทำของรัฐบาลไทย ภายใต้การนำของจอมพล ป. พิบูลสงคราม
บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2565
10 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และรัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นจุดที่รัฐบาลไทยหันเข้าหาญี่ปุ่นเต็มตัว และต่อต้านสัมพันธมิตร เข้าสู่สงครามเป็นทางการ [1] คำถามสำคัญคือ ทำไมวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 จึงเป็นโมฆสงครามตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ ในบทความนี้จะค่อยๆ คลี่ให้เห็นคำตอบต่อไป  
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2565
“เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในช่วงต้นว่าเป็นการนำแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์โซเวียตมาใช้ในประเทศไทย  แต่ทว่าเมื่อพิจารณารายละเอียดของเนื้อหาในเค้าโครงการเศรษฐกิจหลายๆ หัวข้อประกอบกับคำชี้แจงแล้วจะเห็นได้ว่า เค้าโครงการเศรษฐกิจนั้น มิได้เป็นคอมมิวนิสต์ แต่ประกอบไปด้วยแนวคิดทางเศรษฐกิจจากหลายๆ สำนัก ในทางกลับกัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติของ 'จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์' ที่ถูกนำมาใช้ในเวลาต่อมาในประเทศไทยนั้น กลับไม่ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ในลักษณะเดียวกัน โดยเฉพาะเมื่อย้อนกลับไปพิจารณาในบริบทของการเกิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่ง ‘รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ’
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2564
“รัฐธรรมนูญ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์” “เพาะความเลื่อมใสในรัฐธรรมนูญ” “ปกป้องรัฐธรรมนูญ”
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
ธันวาคม
2564
คนไทยจำนวนมากรู้ว่าวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันรัฐธรรมนูญ เป็นวันหยุดราชการ แต่ก็จบแค่นั้น ต้องเป็นคนอายุตั้งแต่ประมาณ 65 หรือ 70 ปีขึ้นไป ถึงจะเคยมีประสบการณ์ร่วมหรือพอจะจดจำได้ถึงช่วงที่ไทยมีงานฉลองรัฐธรรมนูญสนุกสนานเป็นการใหญ่ จนคำกล่าวเชิงเปรียบเปรยว่างานใหญ่จริงนั้นต้องจัดกัน 3 วัน 3 คืนก็ยังดูจะน้อยเกินไป เพราะมีอยู่ครั้งหนึ่งที่คนไทยเคยฉลองกฎหมายสูงสุดของประเทศกันมาแล้วยาวนานต่อเนื่องถึง 15 วัน 15 คืน
บทบาท-ผลงาน
16
ธันวาคม
2564
เมื่อกองทัพญี่ปุ่นยาตราทัพเข้ามาไทยได้ โดยทหารไทยได้รับคำสั่งจากผู้บัญชาการทหารสูงสุดมิให้ทำการต่อต้านแล้ว ฝ่ายญี่ปุ่นก็เริ่มละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และวางยามล้อมรอบสถานทูตอังกฤษ อเมริกัน เนเธอร์แลนด์ และได้จัดตั้งองค์การตำรวจปราบปรามที่นาซีเยอรมันเรียกว่า “แกสตาโป” ญี่ปุนเรียกว่า “แกมเปอิ” ตามล่าตัวเสรีจีนที่เป็นหน่วยสาขาของจีนซึ่งโฆษณาทิ้งใบปลิวโจมตีญี่ปุ่นตลอดมาก่อนญี่ปุ่นเข้าเมืองไทย 
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
ธันวาคม
2564
“การประกวดการแต่งเรือในคลองหลอด” ระบุวันประกวดตรงกับวันอังคารที่ 9 และวันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2484 แต่ถ้ามีเรือส่งเข้าร่วมประกวดจำนวนมากก็จะขยายวันเพิ่มเติมอีก 1 วันคือ 11 ธันวาคม จะเริ่มประกวดตั้งแต่เวลา 14.00 น.
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม