ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

เกร็ดประวัติศาสตร์
7
สิงหาคม
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' นำเสนอเรื่องราวของคณะทูตไทยซึ่งปฏิบัติหน้าที่และใช้ชีวิต ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การเผชิญกับแรงกดดันทางการเมืองในโมงยามแห่งสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้อุบัติขึ้น ทำให้ข้าราชการทั้งหลายต้องตกอยู่ในสถานะถูกควบคุมตัว โดยนายฉลีได้เปิดเผยเรื่องราวทั้งหมดผ่านหลักฐานสำคัญ คือ ‘ตอบหัวข้อการสอบสวนข้าราชการที่กลับจากประเทสอังกริด’
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2565
ภายหลังที่ชาติไทยถูกรุกล้ำอธิปไตยโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น หนึ่งในข้อตกลงที่เกิดขึ้นระหว่างชาติผู้รุกรานและรัฐบาลในขณะนั้น คือการใช้พื้นที่ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองให้เป็นพื้นที่สำหรับกักกันพลเมืองจากประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2565
บรรยากาศ ท่าทีและความรู้สึกของผู้คนในสังคมท่ามกลางบรรยากาศโดยรอบในวันที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มาเยือนสยามประเทศเป็นที่เรียบร้อย เริ่มจากการรุกล้ำอธิปไตยของชาติไทยโดยญี่ปุ่น เหตุการณ์ดังกล่าวนำไปสู่การก่อตั้ง "องค์การต่อต้านญี่ปุ่น" หรือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' พร้อมด้วยภารกิจสำคัญ 2 ประการ เพื่อปลดปล่อยชาติไทยคืนสู่ความเป็นเอกราชอีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
บทบาท-ผลงาน
25
กรกฎาคม
2565
ปรีดี พนมยงค์ ได้ถ่ายทอดเหตุการณ์ระหว่างตอนค่ำ 7 ธันวาคม ถึงตอนเช้า 8 ธันวาคม 2484 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านบันทึกการประชุม ครม. ครั้งสำคัญ
บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2565
นายปรีดี พนมยงค์ หรือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2481 เรื่อยมาจวบจนกระทั่งวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ภายหลังกองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกรุกเข้ามาในเมืองไทยประมาณหนึ่งสัปดาห์เศษ สภาผู้แทนราษฎรปรึกษาหารือกันพร้อมลงมติแต่งตั้ง นายปรีดี ให้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ถือเป็นการแต่งตั้ง สืบเนื่องจาก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คนเดิมถึงแก่อสัญกรรม
ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2565
เนื่องในวาระคล้ายวันเกิด 16 กรกฎาคม ของ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ บุตรสาวคนสุดท้องของครอบครัวปรีดี-พูนศุข ที่ได้รับมรดกทางความคิดและนิสัยรักในความรู้ทางประวัติศาสตร์คล้ายปรีดี พนมยงค์ บิดา
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2565
“งานรื่นเริงของพลเมืองในระบอบใหม่” เป็นกิจกรรมสำคัญที่ถูกจัดขึ้นอย่างแพร่หลายในยุคสมัยรัฐบาลคณะราษฎรนับตั้งแต่หลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม