ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

บทบาท-ผลงาน
16
สิงหาคม
2565
16 สิงหาคม 2488 นายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในรัชกาลที่ 8 ได้ออก “ประกาศสันติภาพ” อันมีใจความสำคัญว่าการประกาศสงครามต่อบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 นั้น “เป็นโมฆะ” ไม่ผูกพันกับประชาชนชาวไทย เนื่องจากเป็นการกระทำอันผิดจากเจตจำนงของประชาชนชาวไทย และขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมายบ้านเมือง
บทสัมภาษณ์
13
สิงหาคม
2565
68 ปีกับเหตุการณ์ฆาตกรรมทางการเมืองที่เกิดขึ้นกับ ‘หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ โต๊ะมีนา’ ผู้นำทางจิตวิญญาณแห่งปัตตานี สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้รับเกียรติจาก คุณเด่น โต๊ะมีนา นักการเมืองชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย และผู้ซึ่งเป็นบุตรชายของหะยีสุหลง
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2565
งานของเสรีไทยกลุ่มนี้เป็นแนวที่สี่ในสงคราม เรียกว่า สงครามจิตวิทยา (Psy-Chological warfare) หน่วยงานนี้สังกัดกระทรวงการสนเทศ (Ministry of Information ใช้อักษรย่อ MOI) ทหารเสรีไทยในกลุ่มสงครามจิตวิทยาได้รับยศนายทหารพร้อมกับ เสรีไทยกลุ่มช้างเผือก ซึ่งเป็นแนวที่ห้า ที่จะปฏิบัติการหลังแนวข้าศึก
บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2565
ผู้เขียนนำเสนอเรื่องราวการเคลื่อนไหวของภารกิจสำคัญในประวัติศาสตร์ คือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านหลักฐานร่วมสมัยทางประวัติศาสตร์ คือ บันทึกโมฆสงคราม อันเป็นเอกสารที่ช่วยขยายเพดานความรู้เกี่ยวกับบริบททางการเมืองของโลกและไทยท่ามกลางไฟสงครามโลกครั้งที่ 2
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
สิงหาคม
2565
การรักษาความเป็นกลางของประเทศไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ก่อนที่ญี่ปุ่นจะเคลื่อนทัพมาถึงดินแดนไทย ภายใต้บรรยากาศทางการเมืองระหว่างประเทศที่ปกคลุมด้วยแรงกดดันและการเจรจาทางการทูตจากประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
แนวคิด-ปรัชญา
9
สิงหาคม
2565
ฐานคิดว่าด้วยสันติภาพผ่านนโยบายการต่างประเทศที่เกิดขึ้นหลังการอภิวัฒน์สยาม ภายใต้การดำเนินงานในรัฐบาลของพระยาพหลฯ ซึ่งมีนายปรีดี เป็น รมต.กระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ในบนหลักของการรักษาดุลแห่งอำนาจซึ่งถือเป็นรากฐานสำคัญที่ส่งผลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จะเปิดฉากในช่วง 2 ทศวรรษต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2565
'กล้า สมุทวณิช' ชวนผู้อ่านพิจารณาถึงจุดกำเนิดในการก่อร่างขององค์กรสำคัญในระบบกฎหมายไทย คือ "ศาลรัฐธรรมนูญ" ด้วยการไต่สวนและดำเนินคดีต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดที่ทำให้สยามประเทศต้องตกอยู่ในภาวะยากลำบากในสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านคดี “โมฆ (อาชญากร) สงคราม” โดยมีจำเลยคนสำคัญคือ 'จอมพล ป. พิบูลสงคราม' นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
สิงหาคม
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' นำเสนอเรื่องราวของคณะทูตไทยซึ่งปฏิบัติหน้าที่และใช้ชีวิต ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การเผชิญกับแรงกดดันทางการเมืองในโมงยามแห่งสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้อุบัติขึ้น ทำให้ข้าราชการทั้งหลายต้องตกอยู่ในสถานะถูกควบคุมตัว โดยนายฉลีได้เปิดเผยเรื่องราวทั้งหมดผ่านหลักฐานสำคัญ คือ ‘ตอบหัวข้อการสอบสวนข้าราชการที่กลับจากประเทสอังกริด’
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2565
ภายหลังที่ชาติไทยถูกรุกล้ำอธิปไตยโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น หนึ่งในข้อตกลงที่เกิดขึ้นระหว่างชาติผู้รุกรานและรัฐบาลในขณะนั้น คือการใช้พื้นที่ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองให้เป็นพื้นที่สำหรับกักกันพลเมืองจากประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2565
บรรยากาศ ท่าทีและความรู้สึกของผู้คนในสังคมท่ามกลางบรรยากาศโดยรอบในวันที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มาเยือนสยามประเทศเป็นที่เรียบร้อย เริ่มจากการรุกล้ำอธิปไตยของชาติไทยโดยญี่ปุ่น เหตุการณ์ดังกล่าวนำไปสู่การก่อตั้ง "องค์การต่อต้านญี่ปุ่น" หรือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' พร้อมด้วยภารกิจสำคัญ 2 ประการ เพื่อปลดปล่อยชาติไทยคืนสู่ความเป็นเอกราชอีกครั้ง
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม