ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

บทบาท-ผลงาน
27
ธันวาคม
2565
27 ธันวาคม 2554 - 2565 11 ปี แห่งอนิจกรรมของ "ศาสตราจารย์ กนต์ธีร์ ศุภมงคล" อดีตเอกอัครราชทูตประจำกรุงลอนดอน และวีรชนเสรีไทย ซึ่งบอกเล่าการดำเนินงานกิจการเสรีไทยในฐานะนักการทูตใต้ดิน เมื่อคราวสงครามโลกครั้งที่ 2
ศิลปะ-วัฒนธรรม
24
ธันวาคม
2565
ย้อนกลับไปยัง "งานฉลองรัฐธรรมนูญ" ในปี พ.ศ. 2483 อันปรากฏร่องรอยประวัติศาสตร์และการมีส่วนร่วมของ "ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์" ซึ่งเป็นการดำเนินงานร่วมกับกองศิลปากรในการประกวดเคหสถาน กิจกรรมในคราวนั้นก็เพื่อเป็นเครื่องแสดงถึงวัฒนธรรมความเจริญของชาติในระบอบประชาธิปไตย
บทสัมภาษณ์
8
ธันวาคม
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนคุยกับ 'คุณไกรศรี ตุลารักษ์' วีรชนแห่งขบวนการเสรีไทย อีกทั้งยังเป็นทายาทของ 'คุณสงวน ตุลารักษ์' หนึ่งในผู้ร่วมก่อการอภิวัฒน์สยาม 2475 และบุคคลใกล้ชิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' รวมไปถึงคราวเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งได้เป็นผู้ร่วมชะตาเดียวกันกับขบวนการเสรีไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
บทบาท-ผลงาน
29
พฤศจิกายน
2565
ห้วงยามอันสำคัญเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้กลายเป็นเรื่องราวที่ควรจารึกไว้ถึงภารกิจที่นำไปสู่สันติภาพของขบวนการเสรีไทย อีกทั้งยังได้ก่อเกิดประวัติศาสตร์ของภูมิภาคและท้องถิ่นในหลายจังหวัด ดั่งเช่นอนุสรณ์แห่งความทรงจำ "ถนนเสรีไทย" ณ จังหวัดตาก เพื่อเป็นเกียรติแด่วีรชนและเล่าขานความหาญกล้าไปยังอนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2565
'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' เขียนถึงพิธีฝังหมุดคณะราษฎรในงานรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2479 กับบทความของ 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' สิงห์น้ำหมึกแห่งวรรณกรรมไทย ซึ่งได้เขียนถึงระบอบใหม่ของประเทศและความประทับใจในหมุดคณะราษฎรอันแสดงไว้ในบทความ "ระบอบรัฐธรรมนูญ" และ "ความเสมอภาค" ดังปรากฏในหนังสือพิมพ์ประชาชาติเมื่อกลางธันวาคมของปีเดียวกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2565
พื้นที่จังหวัดตากได้ปรากฏร่องรอยทางประวัติศาสตร์ในการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทย ด้วยเหตุฉะนี้จึงนำไปสู่ความพยายามในการสร้างอนุสรณ์แห่งความทรงจำ ได้แก่ "ถนนเสรีไทย" ขึ้น ด้วยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนเพื่อเป็นเกียรติแด่เหล่าวีรชนและผู้กล้าทั้งหลายที้มีส่วนในภารกิจกู้ชาติในครานั้น
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2565
ลักษณะเฉพาะของรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เมื่อประกอบรวมกันจึงฉายภาพให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่ของเหตุการณ์ดังกล่าวในสายธารประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้ส่งผ่านมายังฐานคิดของคนในยุคหลังจากเหตุการณ์นั้น อันมีผลต่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน
บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2565
แท้จริงแล้ว ความคิดที่จะสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยมิได้เพิ่งจะมาเริ่มในสมัย จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งอธิการบดี แต่หากเคยมีความคิดที่จะจัดสร้างมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในยุคที่ นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม