ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
ตุลาคม
2565
คดีฟ้องร้อง 'นายฉ่ำ จำรัสเนตร' อดีตครูประชาบาลผู้สนับสนุน "คณะราษฎร" และ "การอภิวัฒน์สยาม 2475" อย่างแข็งขัน ในเวลาต่อมา จากผู้ทำงานด้านการศึกษาแต่เมื่อลงสู่สนามการเมือง ครูฉ่ำก็ได้รับเลือกจากประชาชนและกลายมาเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ทว่า ด้วยพฤติการณ์ที่ไม่เหมือนข้าราชการคนอื่นๆ เขาจึงถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้มีความวิกลจริต
แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2565
การปฏิวัติ 2475 ได้สร้างสังคมใหม่ที่อำนาจสูงสุดการปกครองเป็นของพลเมืองทุกคนซึ่งครั้งหนึ่ง พวกเขาเป็นเพียงผู้อาศัยได้กลายมาเป็นเจ้าของประเทศนั้น การเปลี่ยนแปลงหลักการไปจากระบอบราชาธิปไตยหาได้รับการยอมรับจากกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง ผู้มีความคิดแบบอนุรักษนิยมที่เชื่อว่าความไม่เสมอภาคเป็นเรื่องธรรมชาติ สังคมไทยมีจารีตการปกครองโดยชนชั้นสูงมาตลอดประวัติศาสตร์ไม่สมควรเปลี่ยนแปลงให้กลับตาลปัตร จึงนำไปสู่การต่อต้านการปฏิวัติ 2475 โดยกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง หรือ กบฏบวรเดช (2476)[1]
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2565
'จำกัด พลางกูร' คือ ฟันเฟืองสำคัญของ "ขบวนการเสรีไทย" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้จะอยู่ในวัยหนุ่มและการสร้างครอบครัวอย่างใหม่หมาด แต่ได้อุทิศแรงกายและแรงใจบุกบั่นเพื่อหน้าที่จนลมหายใจสุดท้าย
แนวคิด-ปรัชญา
24
กันยายน
2565
ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 72 ปี[1] แต่บ้านเมืองเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในบางครั้งบางคราวเท่านั้น เพราะได้มีการปฏิวัติรัฐประหารกันมาตลอดเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ครั้ง ทั้งที่ทำสำเร็จบ้าง ไม่สำเร็จบ้าง บางครั้งมีการปฏิวัติแล้ว ก็มีการบริหารราชการแผ่นดินกันในระบอบเผด็จการ ไม่มีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญใช้บังคับ ในบางยุคมีการบริหารราชการแผ่นดินแบบกึ่งเผด็จการและกึ่งประชาธิปไตย ทั้งนี้สุดแต่จิตสำนึกของผู้ยึดอำนาจแต่ละคน ในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยุคประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมือ
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2565
แม้จะมีบันทึกรายนามของวีรชนที่เสียชีวิตจากการปะทะกับกองทัพญี่ปุ่น แต่จากการค้นคว้าของผู้เขียนยังคงไม่ปรากฏเอกสารที่กล่าวถึงวีรกรรมการต่อสู้ของครูลำยองอย่างเป็นทางการ มีเพียงเรื่องเล่าจากผู้ที่อยู่ร่วมในช่วงเวลาเดียวกัน
บทบาท-ผลงาน
27
สิงหาคม
2565
ท่าทีของสหรัฐอเมริกาต่อการรับรองสถานะของขบวนการเสรีไทย ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ คือ โทรเลขจาก 'คอร์เดลล์ ฮัลล์' รมว.ต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ถึง พันเอก กูลเฟลโลว์ รวมไปถึงข้อสังเกตของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกากับไทยผ่านโทรเลขฉบับดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
25
สิงหาคม
2565
โทรเลขของรัฐมนตรีต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา ถึงเอกอัครรัฐทูตสหรัฐอเมริกาประจำอังกฤษ ซึ่งเป็นสาสน์ถึงนายปรีดีเพื่อแนะนำในถึงการประกาศโมฆะสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
สิงหาคม
2565
เรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย ผ่านการทำงานที่เต็มไปด้วยความยากลำบากและความท้าทายในทุกๆ สมรภูมิ
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม