ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2566
ย้อนอ่านประวัติศาสตร์การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งถือเป็นครั้งที่ถูกจารึกไว้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่สกปรกมากที่สุดของไทย อันเป็นการเลือกตั้งที่พบปัญหาการทุจริต เพื่อถอดบทเรียนการเมืองและหนทางการต่อสู้สำหรับเปลี่ยนแปลงประเทศไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤษภาคม
2566
ย้อนเส้นทางชีวิตของ จิตร ภูมิศักดิ์ โดยสังเขป พร้อมเรื่องราวความเชื่อมโยงระหว่างจิตร กับ นายปรีดี พนมยงค์ และ นายดิเรก ชัยนาม ด้วยเกร็ดเล็กๆ ทางประวัติศาสตร์ในกรณีนายดิเรกให้สัมภาษณ์ต่อสื่อถึงนายปรีดี ซึ่งแสดงให้เห็นถึงฝีไม้ลายมือของจิตรในฐานะนักหนังสือพิมพ์
บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2566
ยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์, ผุดผาดน้อย วรวุฒิ, ประสิทธิ์ ผ่องเภสัช และ จิ่งทง ลิขิตชลธาร ร่วมย้อนวันวานถึงนายปรีดี พนมยงค์ เนื่องในวาระ 40 ปีแห่งการอสัญกรรม
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
เมษายน
2566
ความเพลี่ยงพล้ำของฝรั่งเศสใน WWII เปิดลู่ทางให้รัฐบาลจอมพล ป. เรียกร้องต่อกรณี ร.ศ. 112 เมื่อสงครามจบลงชาวเวียดนามอพยพหนีการกว้างล้างของฝรั่งเศสเข้ามายังไทย รัฐบาลประชาธิปไตยภายใต้การนำของนายปรีดี พนมยงค์ จึงดำเนินนโยบายสนับสนุนขบวนกู้เอกราช แต่ก็ต้องหยุดชะงักลงด้วยการรัฐประหาร 2490
บทบาท-ผลงาน
28
เมษายน
2566
แนวทางการปฏิรูปทางเศรษฐกิจและนโยบายการคลัง อันนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เมื่อครั้ง 'นายปรีดี พนมยงค์' รั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง พร้อมกับความเป็นมาและความสัมพันธ์ระหว่างระบบไพร่และกลไกทางภาษี อันเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญทางสังคมในระบอบศักดินา
บทบาท-ผลงาน
27
เมษายน
2566
ผลการดำเนินงานตามนโยบายเศรษฐกิจที่ได้จากความพยายามของคณะผู้ก่อการอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อการปรับปรุงแก้ไขความป่วยไข้ทางเศรษฐกิจที่บ่อนเซาะชีวิตของราษฎรสยาม ผ่านการจัดทำพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร พุทธศักราช 2481
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
เมษายน
2566
เรื่องราวภายหลังการประกาศเอกราชของเวียดนามกับอุปสรรคที่ถาโถมรอบด้าน 'โฮจิมินห์' ในฐานะผู้นำของชาติได้ดำเนินการเจรจากับเจ้าอาณานิคมฝรั่งเศสเพื่อยืนยันว่าการมีเอกราชของเวียดนามนั้นถือเป็นหลักการสูงสุด ทว่าฝรั่งเศสยังคงบั่นทอนเอกราชของชาติเวียดนามด้วยสารพัดวิธีเท่าที่จะทำได้
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
เมษายน
2566
บอกเล่าบรรยากาศและสาระจากงานฉลองครบรอบ 90 ปีที่เวียนมาบรรจบของ 'ส. ศิวรักษ์' ปัญญาชนสยาม อันเป็นชีวิตที่มีโลกทัศน์ดำเนินไปพร้อมกับพลวัตทางสังคม ก่อร่างสร้างตัวตนให้บุรุษผู้นี้มีจุดยืนความคิดเป็นของตนเองมาตลอด 9 ทศวรรษที่ไหลเวียนอยู่ในสายธารของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
10
เมษายน
2566
จากหลัก 6 ประการข้อที่ 3 ว่าด้วย "เศรษฐกิจ" สู่ความพยายามของคณะราษฎรต่อนโยบายการปฏิรูปที่ดินหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ซึ่งต้องเผชิญแรงเสียดทานของผู้คนในระบอบเก่า
แนวคิด-ปรัชญา
6
เมษายน
2566
ทรรศนะทางการเมืองต่อเรื่องกลไกประชาธิปไตย เพื่อส่งใจความไปถึงเหล่าองคาพยพทางการเมืองทุกฟากฝ่าย โดยเฉพาะผู้ที่มีอำนาจขึ้นมาได้จากการใช้อำนาจนอกระบอบ กุหลาบชี้ชัดให้เห็นว่าระบบการเมืองที่มั่นคงและตั้งตรงด้วยหลักการ จะเป็นเสมือนปราการที่คอยป้องกันมิให้สิ่งไม่ดีเกิดขึ้นในระบบการเมืองได้น้อยครั้งที่สุด
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม