ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

แนวคิด-ปรัชญา
2
ตุลาคม
2566
“ว่าด้วยคดีปกครอง” ถึงกรณีหรือเหตุที่ประชาชนเมื่อได้รับกระทบจากการปฏิบัติหรือดุลยพินิจที่ผิดพลาดของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ประชาชนจะสามารถมีสิทธิฟ้องร้องหรือร้องทุกข์โดยวิธี การฟ้องต่อศาลยุติธรรม การอุทธรณ์คำสั่ง หรืออื่นๆ
ชีวิต-ครอบครัว
1
ตุลาคม
2566
เด็กหญิงมีความใฝ่ฝันอยากเป็นนักกีฬา แต่เธอไม่มั่นใจในตัวเอง จึงลังเลที่จะเข้าร่วมทีมบาสเกตบอล แต่ด้วยความช่วยเหลือจากผิงผิง เพื่อนสนิทของเธอ ปลายจึงกล้าที่จะก้าวออกมาทำตามความใฝ่ฝัน และเธอก็ประสบความสำเร็จในที่สุด
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
27
กันยายน
2566
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ได้ชี้ให้เห็นความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงสังคมตามปัจจัยสำคัญตามความต้องการใหม่ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
แนวคิด-ปรัชญา
26
กันยายน
2566
“การคลังของประเทศ” ว่าด้วยเรื่องลักษณะ ขอบเขต และกิจของการคลังในประเทศที่พึงดูแลเป็นหลักคือ งบประมาณ รายได้ และรายจ่ายของประเทศ การกำหนดรายได้และรายจ่ายของประเทศในรอบหนึ่งปี ตามพรบ. งบประมาณ พ.ศ. 2456 ที่แต่ละกระทรวงต้องจัดเตรียมตามข้อบังคับของกระทรวงการคลังเพื่อเสนอขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต และปฏิบัติตามพระบรมราชานุญาต
ชีวิต-ครอบครัว
24
กันยายน
2566
สำหรับวันนี้ขอเสนอตอน "น้ำพริกแอปเปิ้ล" บอกเล่าประสบการณ์ชีวิตระหว่างปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน พ่อพาปลายไปท่องเที่ยวตามสถานที่สำคัญในกรุงปักกิ่ง และรอบๆ ปักกิ่ง
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2566
บทความนี้ อาจารย์ษัษฐรัมย์ นำเสนอถึงเหตุผลสำคัญเบื้องต้นว่าทำไมบรรดาชนชั้นนำในสังคมจึงปฏิเสธสวัสดิการ “บำนาญถ้วนหน้า” อันเกี่ยวโยงกับเหตุผลเรื่องความกังวลในค่าใช้จ่าย ผลทางเศรษฐกิจระยะสั้น ความมั่นคงทางสังคม หรืออื่นๆ
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2566
PRIDI's Law Lecture ในวันนี้ขอเสนอถึงการกระทำของฝ่ายปกครองอีกประการหนึ่งนอกเหนือไปจากการรักษาความสงบเรียบร้อยทั้งในทางตรงและทางอ้อม คือ การส่งเสริมให้ราษฎรมีความสุขสมบูรณ์
แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์