ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤศจิกายน
2567
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล ทรงเป็นมิตรที่รักใครกับนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสมาตั้งแต่ 14 ชันษา และยังคงมีความสัมพันธ์อันดีต่อเนื่องกันตลอดมาจนกระทั่งวาระสุดท้ายของนายปรีดี พนมยงค์
วันนี้ในอดีต
27
พฤศจิกายน
2567
114 ปี ชาตกาลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กัลยาณมิตร ของนายปรีดี พนมยงค์บอกเล่าเรื่องราวจากบันทึกความทรงจำและพระจริยาวัฒน์ของเสด็จพระองค์ชายใหญ่ที่มีต่อนายปรีดี พนมยงค์ และครอบครัวปรีดี-พูนศุข
แนวคิด-ปรัชญา
26
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอข้อเท็จจริงเรื่องการร่วมกับสายนายทหารผู้ใหญ่และเชิญพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้าคณะราษฎร และวิจารณ์กรณีที่ ร.ท.ประยูรฯ เล่าว่าได้ “ชักจูง” ปรีดีให้คิดอภิวัฒน์เพื่อตอบโต้การบิดเบือนทั้ง 2 กรณีในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ
บทบาท-ผลงาน
22
พฤศจิกายน
2567
บทบาทและผลงานของนายปรีดี พนมยงค์ ในด้านการต่างประเทศนับได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมัยแรกในรัฐบาลพระยาพหลฯ จนสิ้นทศวรรษ 2480
บทบาท-ผลงาน
21
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เสนอประเด็นสำคัญคือ ปัญหาเศรษฐกิจของสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ผ่านการประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศสในยุคพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ที่ไม่ได้มีการวางแผนเศรษฐกิจไว้ล่วงหน้าจนทำให้ราษฎรต้องอดอยากนำไปสู่การล่มสลายในที่สุด และได้เสนอการแก้ไขเศรษฐกิจผ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจ (สมุดปกเหลือง) ตามแนวทางของหลัก 6 ประการ
วันนี้ในอดีต
19
พฤศจิกายน
2567
108 ปี ชาตกาล ครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ภริยาของนายจำกัด พลางกูร เสรีไทยคนสำคัญที่บอกเล่าเรื่องราวจากบันทึกความทรงจำ และความประทับใจที่มีต่อนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
พฤศจิกายน
2567
การปฏิบัติการเสรีไทยในจังหวัดลำปาง นอกจากนายทหารเสรีไทยสายอังกฤษสังกัดกองกำลัง 136 และการปฏิบัติการได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในพื้นที่
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2567
จดหมายจากนายปรีดี พนมยงค์ ถึง จอมพลถนอม กิตติขจร ปี 2517 เรื่อง เสนอความคิดเห็นในการใช้มาตรา 17 แห่งธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรเพื่อเอาทรัพย์สินที่จอมพลสฤษดิ์มีไว้หรือหามาได้โดยมิชอบด้วยกฎหมายมาเป็นของรัฐ
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2567
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามใน พ.ศ. 2476 มีขึ้นระหว่างวันที่ 15-28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 และข้อที่ 4 ของหลัก 6 ประการในเรื่องจะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกันอันเป็นการมอบสิทธิเสมอภาคทางการเมืองให้แก่พลเมืองครั้งแรก
แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอให้เห็นข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ในเรื่องการก่อตั้งคณะราษฎรเมื่อปี 2469 โดยเฉพาะความคลาดเคลื่อนเรื่องปีที่ก่อตั้งและสถานที่ที่ไม่ตรงกับข้อเท็จจริง
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์