ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2567
Infographic ปฐมบทประชาธิปไตยในสยาม พ.ศ. 2427-2478 เสนอให้เห็นถึงลำดับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ไทยที่สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2567
ทัศนะต่อการรัฐประหาร 2490 และการลี้ภัยครั้งแรกไปยังสิงคโปร์และจีนของนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งนายปรีดีได้อธิบายการลี้ภัยไว้อย่างละเอียด ต่อมานายปรีดีได้เขียนถึงรัฐธรรมนูญฉะบับชั่วคราว 2490 ที่สะท้อนแนวคิดของฝ่ายอนุรักษนิยม
วันนี้ในอดีต
3
พฤศจิกายน
2567
เนตร เขมะโยธิน เขียนถึงปฏิบัติการเสรีไทยในจีนของถวิล อุดล ผู้ที่ปรีดี พนมยงค์ มอบหมายภาระกิจส่งสารไปยังจีนในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
ตุลาคม
2567
วาระครบรอบ 91 ปี กบฏบวรเดช ภายหลังเหตุการณ์การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและการหวนกลับของกบฏบวรเดช สะท้อนให้เห็นถึงพื้นที่อนุสาวรีย์ที่ยังเป็นพื้นที่ความทรงจำตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
วันนี้ในอดีต
30
ตุลาคม
2567
110 ปี ชาตกาลของจำกัด พลางกูร เป็นปากคำประวัติศาสตร์ของฉลบชลัยย์ พลางกูร ภรรยาของจำกัด ที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิต และการทำงานเสรีไทยของจำกัดอย่างละเอียด
วันนี้ในอดีต
29
ตุลาคม
2567
ในวาระ 14 ปี มรณกรรม ศุขปรีดา พนมยงค์ ได้เขียนถึง 21 ปี ที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้พํานักอยู่ในประเทศจีน ตั้งแต่ พ.ศ. 2492-2513 ซึ่งนายปรีดี และครอบครัวมีความรู้สึกซาบซึ้งในไมตรีจิตมิตรภาพของราษฎรจีน และผู้นําจีน
แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2567
เปลื้อง วรรณศรี วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ. 2493 ว่ามีลักษณะทอดทิ้งประชาชน ในนิตยสารรัฐบุรุษ ฉบับวันเกิดปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2493
แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2567
เมื่อ พ.ศ. 2514 นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับเอกภาพของชาติ ในประเทศที่มีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา โดยยกอุทาหรณ์ในอดีตที่เคยเกิดขึ้นทั้งในต่างประเทศและในประเทศเองมาให้ 'อนุชน' พิจารณา
ชีวิต-ครอบครัว
24
ตุลาคม
2567
บันทึกความห่วงใยถึงประเทศชาติผ่านเหตุการณ์ทางการเมือง ของนายปรีดี พนมยงค์ ระหว่างพำนักอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส ผ่านบันทึกความทรงจำของคุณ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ ลูกสาวคนเล็กของครอบครัวปรีดี พูนศุข พนมยงค์
วันนี้ในอดีต
23
ตุลาคม
2567
ประวัติชีวิต และบทบาททางสังคมของ หม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร และสะท้อนความสัมพันธ์อันดีกับนายปรีดี พนมยงค์ ผ่านจดหมายที่ช่วยเหลืองานและตอบคำถามบางประการให้แก่นายปรีดี
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์