ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

แนวคิด-ปรัชญา
18
สิงหาคม
2567
บทกล่าวนำ หัวข้อสันติธรรมภายใต้ระบบพหุขั้วอำนาจโลก โดย รศ. ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ใน PRIDI Talks #27: 79 ปี วันสันติภาพไทย : “ถอดบทเรียน 2 ทศวรรษไฟใต้ : เพื่อเส้นทางสู่สันติภาพ” วันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 10.30-12.30 น. ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
17
สิงหาคม
2567
วันสันติภาพไทย ประจำปี 2567 ในภาคเช้ามีพิธีการรำลึกที่สวนประวัติศาสตร์ธรรมศาสตร์กับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย โดยมีงานเสวนา 79 ปี วันสันติภาพ ถอดบทเรียน 2 ทศวรรษไฟใต้ : เพื่อเส้นทางสู่สันติภาพ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และภาคบ่ายมี PRIDI x BMA : 79 ปี วันสันติภาพไทย ที่หอศิลป์กรุงเทพฯ
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2567
มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นยุคของการเปลี่ยนผ่านโดยหลังการรัฐประหาร 2490 มีการกำจัดเครือข่ายของคณะราษฎรสายพลเรือนและฝ่ายนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งการทำลายธรรมศาสตร์เป็นส่วนสำคัญในการลบเครือข่ายฯ ของนายปรีดี
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2567
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นได้มีการยกกำลังพลผ่านทางพื้นที่ทางอินโดจีน อย่างไรก็ตามการทำสงครามมีความจำเป็นในการซื้อเสบียงที่จำเป็นต่อกำลังพลในการทำสงคราม จึงขอยืมเงินไทยเพื่อซื้อเสบียงให้แก่กองทัพ
แนวคิด-ปรัชญา
14
สิงหาคม
2567
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เล่าประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยนับตั้งแต่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 จนถึงเหตุการณ์ที่นักศึกษาเคลื่อนไหวเกี่ยวกับขบวนการสันติภาพหรือต่อมาคือกบฏสันติภาพในปี 2495 มาจนถึงเหตุการ 6 ตุลา 2519 และชี้ว่าตนได้รับการสืบต่อแนวคิดประชาธิปไตยมาจากนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
สิงหาคม
2567
ภายหลังสงครามอินโดจีน-ฝรั่งเศส สิ้นสุดลงทางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับความนิยมและมีผู้สนับสนุนเป็นคนสนิท หากนายปรีดี พนมยงค์ ชี้ว่า รัฐบาลของจอมพล ป. ออกห่างจากแนวทางสันติวิธี
บทสัมภาษณ์
11
สิงหาคม
2567
อนุชา จินตกานนท์ บุตรชายของอนันต์ จินตกานนท์ เสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา เล่าถึงปากคำประวัติศาสตร์เกี่ยวกับเสรีไทยที่ตนเองได้รับรู้จากครอบครัวในวัยเยาว์จนถึงวัยหนุ่มซึ่งเป็นบันทึกความทรงจำล้ำค่า
บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เขียนถึงที่มา สาเหตุ และบริบาทของการเมืองไทยยุคสงครามอินโดจีน-ฝรั่งเศส โดยบันทึกประวัติศาสตร์ถึงนโยบายของรัฐบาล การเมืองระหว่างประเทศในขณะนั้น และกระบวนทัศน์ของตนเองต่อกรณีเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2567
วิเชียร วัฒนคุณ อดีตประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ผู้เสนอชื่อปรีดี พนมยงค์ให้ได้รางวัลยูเนสโก เป็นเสมือนผู้ปิดทองหลังพระ และมีความศรัทธาต่ออุดมคติทางสังคมการเมืองของปรีดีโดยได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไว้ในบทความชิ้นนี้
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เสนอประเด็นเรื่องหลัก 6 ประการที่หนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยนายประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ว่าข้อเท็จจริงที่แท้นั้น นายประยูรได้ปฏิเสธการดำเนินนโยบายตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์