ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

บทบาท-ผลงาน
21
ตุลาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคณะราษฎร เป็นผู้หนึ่งที่มองเห็นปัญหานี้ เขาใช้เวลาเพียง 1 ปี หลังการเปลี่ยนแปลง เริ่มต้นความพยายามแรกด้วยการเสนอให้มีการปฏิรูปที่ดิน
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ตุลาคม
2564
เมื่อก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ฐานะของพระบรมวงศานุวงศ์เป็นที่ยกย่องเทิดทูนอย่างสูงส่ง เนื่องจากท่านเหล่านั้นเป็นเลือดเนื้อเชื้อไขในราชตระกูลผู้ซึ่งเคยปกป้องแผ่นดินไทยมาในบางยุคบางสมัย บุญคุณอันนั้นจึงมีให้คนไทยสำนึกอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ท่านเหล่านั้นทรงเป็นอภิสิทธิ์ชนโดยกำเนิด หากทรงกระทำผิดกฎหมายอะไรขึ้น ก็ไม่ต้องขึ้นศาลธรรมดาแต่ทรงขึ้นศาลของกระทรวงวัง แม้ว่าจะมีความผิดอย่างฉกรรจ์ก็เพียงแต่กักบริเวณ และเอาโซ่ตรวนใส่พานวางไว้หน้าห้องเท่านั้นเอง
ชีวิต-ครอบครัว
17
ตุลาคม
2564
‘ผศ.ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์’ มีบทบาทสำคัญกับวงการตลาดหลักทรัพย์ไทย ในปี 2528 – 2535 เป็นช่วงสำคัญของการพัฒนาวงการตลาดหลักทรัพย์ไทยในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
ตุลาคม
2564
ไม่นานมานี้ ผมเห็นข่าวการเปิดตัว “บันทึกของนายเตียง ศิริขันธ์” ที่ค้นพบจากแฟ้มเอกสารลับของ OSS ในหอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NARA) ประกอบกับได้มีหนังสือเรื่อง  จากแฟ้มเอกสารลับที่สุด : เผย “ข้อมูลใหม่” ทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ของหอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NARA)  ผลงานของ 'พันเอก ดร.สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ' ตีพิมพ์เผยแพร่ออกมากลางปี พ.ศ. 2564 ซึ่งในหนังสือเล่มนี้นำเอาบันทึกที่เชื่อว่าเขียนโดยนายเตียงมาเปิดเผยไว้อย่างสมบูรณ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
ตุลาคม
2564
อนุสาวรีย์คอนกรีตสูงประมาณ 4 เมตร ที่ตั้งอยู่บริเวณวงเวียนหลักสี่ หายไปอย่างไร้ร่องรอยเมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2561
แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
ความทรงจำดังกล่าวเป็นผลมาจากการจำกัดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในระบอบเผด็จการทหารซึ่งผูกขาดช่องทางการสื่อสารและปกครองประเทศด้วยการปิดกั้นเสรีภาพมาอย่างยาวนาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2564
หลังจากที่ท่านปรีดีฯ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๗๖ แล้ว แต่ยังไม่ทันที่จะได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนตามรัฐธรรมนูญ ก็ได้เกิดการขบถขึ้นภายในราชอาณาจักร เมื่อ ๑๑ ตุลาคม ปีเดียวกัน ขบถครั้งนี้มี พลเอกพระองค์เจ้าบวรเดชกฤษดากร เป็นหัวหน้า ใช้ชื่อคณะในการขบถครั้งนี้ว่า “คณะกู้บ้านเมือง” แต่ชาวบ้านเรียกกันทั่วๆ ไปว่า “ขบถบวรเดช”
แนวคิด-ปรัชญา
9
ตุลาคม
2564
ในสังคมแบบนี้จะไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย และ ผู้อำนาจรัฐก็ไม่ใช้กฎหมายยัดคดีให้กับผู้เห็นต่างหรือคนที่มีความเห็นหรือเป็นฝ่ายตรงกันข้าม
บทสัมภาษณ์
6
ตุลาคม
2564
PRIDI Interview: รังสิมันต์ โรม "6 ตุลาฯ อุดมการณ์ที่ยังไม่สัมฤทธิ์ผล"
แนวคิด-ปรัชญา
4
ตุลาคม
2564
ปัญหามิใช่อยู่ที่ว่าขบวนอภิวัฒน์ปฏิเสธความสำคัญของทหาร แต่ทหารที่ว่านี้คือทหารของฝ่ายราษฎร ที่มาจากราษฎร โดยราษฎร ได้รับการฝึกฝนอบรมให้ปฏิบัติการเพื่อราษฎร ไม่ยอมเป็นเครื่องมือของอำนาจเผด็จการที่ปกครองทหารอย่างทาส
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์