ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ธันวาคม
2564
หากจะกล่าวถึงการที่ประเทศไทยสามารถผ่านพ้นช่วงวิกฤตจากสงครามโลกครั้งที่ 2 มาได้ และดำรงคงไว้ซึ่งเอกราช มิอาจปฏิเสธได้ว่าส่วนที่สำคัญที่สุดเพราะเรามี "ขบวนการเสรีไทย"
บทบาท-ผลงาน
5
ธันวาคม
2564
ดิฉันรู้จักคุณเตียงครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2476 เมื่อดิฉันไปเข้าเรียนอักษรศาสตร์ที่ ม.จุฬาลงกรณ์ ตอนนั้นคุณเตียงเรียนจบไปหลายปีแล้ว ตั้งแต่ครั้งที่แผนกอักษรศาสตร์ยังไม่มีปริญญา ปีที่ดิฉันไปเข้านั้นดูเหมือนจะเป็นปีแรกที่เขาตั้งปริญญาขึ้น เพื่อนๆ คุณเตียงกลับมาเรียนต่อหลายคน คุณเตียงไม่ได้มาเรียน (เข้าใจว่าเริ่มยุ่งกับการเมือง) แต่ก็ได้แวะวนมาเยี่ยมเพื่อนๆ ที่จุฬาฯ เสมอ และเมื่อมีงานเลี้ยงของคณะอักษรศาสตร์ก็มาร่วมด้วยไม่เคยขาด คุณเตียงเป็นคนใจกว้าง รักหมู่คณะเป็นยอด เพื่อนๆ จึงรักเธอมากทุกคน เพื่อนเหล่านี้เป็น น.ร.หญิงหลายคนที่มาจาก ร.ร. ราชินี ร.ร.
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ธันวาคม
2564
“............ วนเวียนมาก็นานแล้วกับความทรงจำเก่าๆ อาจจะถึงเวลาที่ใกล้จะต้องจบลงเสียทีกระมัง สงครามก็ใกล้จะสิ้นสุด และงานการหน้าที่ของเสรีไทยในอเมริกาก็บรรลุตามที่มุ่งหมายเอาไว้แล้ว ด้วยความร่วมมือของคนหลายฝ่าย ทั้งเสรีไทยในประเทศ ทั้งเสรีไทยในอเมริกาด้วยกันที่รับผิดชอบหน้าที่อื่นที่ไม่ใช่งานสนามรบโดยตรง อาจจะยังคงเหลืองานอยู่อีกส่วนหนึ่งที่ยังมิได้กล่าวถึงโดยเฉพาะ นั่นก็คือ งานของพวกผู้หญิง เขาทำอะไรกัน แล้วคราวหน้าก็คงจะจบลงด้วยเรื่องว่าพวกเขาอยู่ที่ไหนเมื่อประเทศสงบสงคราม
บทบาท-ผลงาน
2
ธันวาคม
2564
ข้าพเจ้าได้ช่วยนายปรีดีรับฟังวิทยุต่างประเทศเพื่อทราบความเคลื่อนไหวของสัมพันธมิตร ข่าวการสู้รบในสมรภูมิต่างๆ ทั่วโลก และบางครั้งข้าพเจ้าก็ช่วยเขียนรหัส ด้วยลายมือโดยไม่ใช้พิมพ์ดีด
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2564
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า นับเป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระชนมายุยืนยาวจนได้ทอดพระเนตรสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง ทรงเป็นพระชนนีของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ซึ่งต่อมาได้เฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในห้วงเวลาของสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สมเด็จพระพันวัสสาฯ จึงมีศักดิ์เป็น “พระอัยยิกา” ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
ชีวิต-ครอบครัว
27
พฤศจิกายน
2564
ถ้าจะถือเอาถ้อยคำบอกเล่าของ นายปรีดี พนมยงค์ มาพินิจพิจารณา ย่อมเผยให้ทราบว่า เขามิใช่บุคคลผู้สันทัดด้านการเล่นกีฬาเท่าไหร่นัก แม้ความไม่ถนัดนี้อาจดูเป็นเรื่องเล็กๆ แต่ก็มีแง่มุมเกี่ยวโยงกับบทบาททางการเมืองของนายปรีดีเช่นกัน ในข้อเขียน “ความเป็นไปภายในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” นายปรีดีบอกเล่าไว้ตอนหนึ่งว่า
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
พฤศจิกายน
2564
การเกิดขึ้นของคณะสุภาพบุรุษคือหนึ่งในความใฝ่ฝัน ความปรารถนาของคนกลุ่มหนึ่งในสังคมสยามที่มุ่งหวังจะเห็นความเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมแห่งเสรีภาพและความเสมอภาค
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์