ปรีดี พนมยงค์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
14
มกราคม
2565
ที่สำคัญ วันนี้เป็นวันของเด็กรุ่นใหม่ ควรเอาใจใส่เรื่องการเมือง สื่อมวลชนควรมีจิตสำนึกทางประวัติศาสตร์ เราต้องอย่าลืมอดีต ไม่มีอดีตจะมีปัจจุบันได้อย่างไร
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2565
คุณแม่...คือตัวอย่างของผู้ให้กำเนิดที่ประเสริฐ
คนเราเลือกเกิดไม่ได้ แต่เลือกทางเดินชีวิตของตนเองได้ ลูกๆ ทั้งหกคนโชคดีที่ได้เกิดมาเป็นลูกของปรีดี-พูนศุขที่เป็นบุคคลอันเปี่ยมไปด้วยคุณธรรม เป็นแบบอย่างของการยืนอยู่บนโลกใบนี้อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี
คุณแม่อุ้มท้องลูกทั้งหกคน อย่างทะนุถนอม และด้วยความยากลำบาก เสี่ยงชีวิต อดทนต่อความเจ็บปวด คลอดเราออกมา และดูแลอภิบาลตั้งแต่แรกเกิดจนเติบโต
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
11
มกราคม
2565
สิ่งที่เห็นอย่างเด่นชัดในจดหมายทุกฉบับ คือ “ความรักในทัศนะใหม่” โดยการให้เกียรติสตรีอย่างเสมอภาคกับบุรุษของปรีดีต่อพูนศุข
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
9
มกราคม
2565
ถึงแม้ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ จะเป็นภริยา นายปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
7
มกราคม
2565
"โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์" สอนให้ข้าพเจ้าซื่อสัตย์ มีวินัย มีมารยาทในสังคม มีวิชาความรู้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศส ทำให้ข้าพเจ้าทำหน้าที่ภรรยาของนักการเมืองและแม่ของลูกได้อย่างมีความอดทน เชื่อมั่นและไม่ท้อแท้ แม้บางครั้งครอบครัวข้าพเจ้าจะถูกมรสุมการเมืองโถมกระหน่ำอย่างไร้ความปรานี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2564
“รัฐธรรมนูญ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์”
“เพาะความเลื่อมใสในรัฐธรรมนูญ”
“ปกป้องรัฐธรรมนูญ”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
ธันวาคม
2564
เมื่อบาดเจ็บสาหัสจากคมกระสุนที่ยิงมาจากฐานปืนกลประจำเครื่องบินสปิตไฟร์ในศึกป้องกันเมืองท่าแขก และเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลนครพนมอยู่ระยะหนึ่ง เจ้าสุพานุวงจึงเดินทางเข้าบางกอกพร้อมเจ้าเวียงคำชายาเพื่อรักษาตัวเพิ่มเติม ศัลยแพทย์ฝีมือดีที่สุดคนหนึ่งทำหน้าที่ดูแลท่านในขณะนั้นคือ นายแพทย์บรรจง กรลักษณ์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2564
ปรีดีได้ชวนให้ตั้งข้อสังเกตและพิจารณาถึงบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีทั้ง “บทถาวร” และ “บทเฉพาะกาล” ว่า ต้องมีหลักในการพิจารณาว่าบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ นั้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์
16
ธันวาคม
2564
เมื่อกองทัพญี่ปุ่นยาตราทัพเข้ามาไทยได้ โดยทหารไทยได้รับคำสั่งจากผู้บัญชาการทหารสูงสุดมิให้ทำการต่อต้านแล้ว ฝ่ายญี่ปุ่นก็เริ่มละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และวางยามล้อมรอบสถานทูตอังกฤษ อเมริกัน เนเธอร์แลนด์ และได้จัดตั้งองค์การตำรวจปราบปรามที่นาซีเยอรมันเรียกว่า “แกสตาโป” ญี่ปุนเรียกว่า “แกมเปอิ” ตามล่าตัวเสรีจีนที่เป็นหน่วยสาขาของจีนซึ่งโฆษณาทิ้งใบปลิวโจมตีญี่ปุ่นตลอดมาก่อนญี่ปุ่นเข้าเมืองไทย