ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2564
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอคำโต้แย้งแรกๆ ต่อคำอธิบายข้างต้น ที่เกิดขึ้นหลังจากระบอบเผด็จการทหารล่มสลาย การผลิดอกออกผลของปัญญาญาณและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ก็ค่อยๆ เบ่งบานขึ้นมา
9
มิถุนายน
2564
อ่าน: เอกสารคำฟ้อง (ฉบับจริง) คำฟ้อง: คดีหมายเลขดำที่ 8612/2521 เรื่อง: ละเมิดปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน หมิ่นประมาท ไขข่าว ข้อหาหรือฐานความผิด แพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง ทำให้เสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติคุณ ความเจริญและทางทำมาหาได้ของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้รับมอบอำนาจ: ปาล พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2564
เมื่อจะกล่าวถึงความคิดของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ สิ่งหนึ่งที่ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้คือการก่อตัวของสิ่งที่ท่านเรียกว่า “จิตสำนึก”
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2564
บทความนี้ 'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' จะพาท่านผู้อ่านไปทำความรู้จัก 2 พ่อลูกนักคิดหัวก้าวหน้าในยุคเปลี่ยนผ่านของหน้าประวัติศาสตร์ไทยอย่าง ก.ศ.ร.กุหลาบ และบุตรชายของเขา "นายชาย ตฤษณานนท์" (ก.ห. ชาย)
แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2564
จุดเริ่มต้นแห่งการก่อเกิดประชาธิปไตยนั้น ได้เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถูกส่งต่อมาเรื่อยๆ จนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 7 โดยมีทั้งชนชั้นสูงอย่างเจ้าขุนมูลนาย และ ราษฎรไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
พฤษภาคม
2564
31 พฤษภาคม 2564 ครบรอบ 60 ปี การประหารชีวิตอดีตนักการเมืองสามัญชนคนสำคัญผู้หนึ่งคือ ‘ครอง จันดาวงศ์’
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2564
ความแตกต่างระหว่างนายปรีดีกับหลวงพิบูลสงครามในด้านรูปแบบและรสนิยมการรับประทานอาหารเช้า ซึ่งพอจะสื่อนัยยะของแนวความคิดทางสังคมการเมืองได้
แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์: ผู้ริเริ่มก่อการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย ๒๔๗๕ ตอนที่สอง โดย ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ
แนวคิด-ปรัชญา
28
พฤษภาคม
2564
บทความนี้ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' จะพาย้อนศึกษาโครงสร้าง ข้อกฎหมายต่างๆ และความสำคัญของภาษีที่ดินในประเทศไทย อาทิ เรื่องของภาษีโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้าง เรื่องของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์