ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

บทสัมภาษณ์
15
กรกฎาคม
2563
อ่านทัศนะของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) หรือที่รู้จักกันในสมณศักดิ์ที่ พระพิมลธรรม เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2563
ตามที่ปุถุชนทั้งหลาย มีลูกหลานเป็นต้นหรือลูกหลานมิตรสหายมาปรารภวันเกิดของตนก็ตาม หรือของท่านที่เคารพนับถือของตนก็ตาม ก็เสมือนหนึ่งเป็นการให้ได้มีโอกาสสอบสวนชีวิตของคนแต่ละท่านว่าที่ล่วงลับล่วงเลยไปแล้วนั้น เราได้ดําเนินชีวิตไปเหมาะสมแค่ไหน เพียงใด  ทั้งนี้ก็เพื่อว่า เมื่อว่าชีวิตของเราดําเนินมาในทางที่ไม่ดี เราจะได้แก้ไขปรับปรุงให้มันดีขึ้น หรือเมื่อเห็นว่าชีวิตของเราดําเนินดีถูกต้องอยู่แล้ว ก็อย่าได้ดีใจแต่ให้เพียรทําความดีสืบต่อไป นี่ก็เป็นจุดมุ่งหมายที่คาดคะเนว่าคงจะปรารถนาเช่นนี้จึงได้มีการบําเพ็ญกุศลเนื่องในวันสําคัญของตน 
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
กรกฎาคม
2563
เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล นายกสโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล่าเรื่อง "ปรีดี พนมยงค์" ในฐานะผู้สร้างแรงบันดาลใจให้เขา ตั้งแต่สมัยเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และการลงมือทำ #จุลสารปรีดี เพื่อเผยแพร่เรื่องราวของรัฐบุรุษอาวุโส และสัจจะทางประวัติศาสตร์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2563
หากโลกนี้มีธรรมเป็นอำนาจ ประชาชาติช่วงโชติปราโมทย์สมัย บรรสานสุขยุคมหาประชาธิปไตย ประชาไทยคงเป็นไททั่วหน้ากัน . "นาม ปรีดี พนมยงค์ ธิรงสถิตย์ แบบฉบับผู้อุทิศชีวิตมั่น สู้เพื่อชาติเอกราชเทิดคุณธรรม์ เป็นมิ่งขวัญมวลมหาประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
10
กรกฎาคม
2563
“จิตใจวิทยาศาสตร์” คือ สิ่งที่บุคคลซึ่งจะเข้าใจปรัชญาที่เป็นวิทยาศาสตร์ได้ พึงมี ปรีดี พนมยงค์ อธิบายว่า “จิตใจวิทยาศาสตร์” มี 6 ประการ ได้แก่
บทบาท-ผลงาน
9
กรกฎาคม
2563
หลายคนคงไม่เคยรู้ว่า แท่นพิมพ์ที่ใช้พิมพ์ประกาศคณะราษฎร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 นั้น ในเวลาต่อมาจะตกเป็นสมบัติของโรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ใช้พิมพ์ตำราเรียนและหนังสือต่าง ๆ จนเมื่อปลดระวางแล้ว ก็ยังถูกเก็บรักษาไว้ ดังในปัจจุบันจัดแสดง ณ ตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทสัมภาษณ์
7
กรกฎาคม
2563
"ควรปรับปรุง (การเผยแพร่พุทธศาสนา) ให้ทันสมัย เช่นว่า ควรจะมีเพลงทางศาสนาของพุทธศาสนาบ้าง ผมบอกว่าผมไม่มีหัวทางนี้" พระมหาเงื่อม อินทฺปญฺโญ ย้อนรำลึกถึงเรื่องที่เคยสนทนากับนายปรีดี พนมยงค์ ที่ทำเนียบท่าช้าง ใน พ.ศ. 2485 ผ่านบทสัมภาษณ์ของพระดุษฎี เมธงฺกุโร เมื่อปี 2531
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กรกฎาคม
2563
ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา หากจะถามหาสามัญชนที่เป็นอัจฉริยะและรัตนบุรุษ ผู้สร้างคุณูปการต่อชาติและศาสนา ทั้งในฝ่ายฆราวาสและบรรพชิตแล้ว นายปรีดี พนมยงค์และท่านพุทธทาสภิกขุ ย่อมอยู่ในฐานะอันโดดเด่น ควรแก่การยกย่อมอย่างแท้จริง ทั้งความรู้ ความสามารถ ความเสียสละ ความสะอาดบริสุทธิ์ ความซื่อสัตย์สุจริตและความเห็นการณ์ไกล ซึ่งประวัติศาสตร์ชาติไทยจักต้องจารึกความสำคัญของท่านทั้งสองไว้นานเท่านาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เขียนบทความสั้น ๆ เล่าถึง 'คุณปู่' พระยาไชยวิชิตสิทธิสาตรา (นาค) ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ได้ลงชื่อในคำกราบบังคมทูล ร.ศ. 103
บทบาท-ผลงาน
3
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม เวียนมาบรรจบ ผมในฐานะศิษย์เก่า มธ. ของท่านรัฐบุรุษปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอจารึกความรู้สึกไว้ว่า ท่านรัฐบุรุษอาวุโสไม่ได้จากไปไหน เพียงแต่อัฐิธาตุของท่านได้ลอยจากไปท่ามกลางทะเลใสสะอาด แต่ผลงานของท่านยังคงอยู่ และผมระลึกอยู่เสมอว่า ฯพณฯ ปรีดี ได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิดขึ้นแห่งแรกในประเทศไทย คือ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง  ผมกล้าพูดได้ว่า ไม่มีท่าน ไม่มีธรรมศาสตร์ ไม่มีธรรมศาสตร์ ก็ไม่มีพวกเราทุกคน 
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์