ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
1
สิงหาคม
2563
กล่าวได้ว่า กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร “อีสาน” ดูจะโดดเด่นเป็นพิเศษในฐานะที่พยายามทําหน้าที่เป็นตัวแทนของ คนส่วนใหญ่ จาก “วงนอก” และจาก “ชายขอบ” เป็นปากเสียงและต่อรองให้ผู้ที่อยู่นอกศูนย์กลางของอํานาจ (กรุงเทพฯ)
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
กรกฎาคม
2563
“หัวเมืองไม่ได้รับการบำรุงอย่างใดเลย ปล่อยตามธรรมชาติ แต่มองดูมณฑลชั้นในโดยเฉพาะจังหวัดพระนคร จะเห็นว่าถูกบำรุงอย่างฟุ่มเฟือย ในเมื่อเทียบกันข้อนี้ชาวหัวเมืองได้พร่ำร้องมานานนักหนาแล้ว”
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
กรกฎาคม
2563
“ข้าพเจ้าขอส่งผู้แทนมาพบท่าน เพื่อขอให้ท่านรับรองรัฐบาลพลัดถิ่นที่เราจะตั้งขึ้นในดินแดนกลุ่มประเทศสัมพันธมิตร เพราะมาตรการนี้จะเป็นหนทางเดียวที่จะกระตุ้นคนไทยให้หลุดพ้นจากการรุกรานของญี่ปุ่น”
บทบาท-ผลงาน
29
กรกฎาคม
2563
ในวาระ 75 ปี วันสันติภาพไทย (16 สิงหาคม 2488-2563) ที่จะมาถึงนี้ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' กล่าวถึงบทบาทและความสำคัญของธนาคารแห่งประเทศไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
กรกฎาคม
2563
คือวิญญาณเสรี ชื่อ “ปรีดี พนมยงค์” คือดาวที่ดํารง อยู่คู่ฟ้าสถาวร
27
กรกฎาคม
2563
16 สิงหาคม “วันสันติภาพไทย” วันสำคัญของประวัติศาสตร์การเมืองไทย ซึ่งเป็นวันที่ระลึกถึงการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 และเป็นการรำลึกถึง “ขบวนการเสรีไทย” วีรชนผู้ยอมเสี่ยงชีวิตตนเอง เพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชและอธิปไตยของไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จากการรุกรานของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ภายใต้การนำของนายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าขบวนการเสรีไทย ผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำรงฐานะเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 ในขณะนั้น
บทบาท-ผลงาน
27
กรกฎาคม
2563
ความคิดของอาจารย์ปรีดีได้ก่อประโยชน์ให้แก่บ้านเมืองหลายด้านหลายสาขา แม้ความคิดบางอย่างไม่ได้รับการสนองตอบในขณะนั้น ก็มีอิทธิพลกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระยะต่อมา ยิ่งกว่านั้นประเทศไทยจะจารึกผลงานของท่านในฐานนักคิดนักปฏิรูปสังคม
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กรกฎาคม
2563
“ข้าพเจ้ามีเลือดนักสู้อย่างพร้อมบูรณ์ และเตรียมพร้อมทุกอย่างเพื่อการต่อสู้ และได้เรียนรู้ไว้ว่าจะสู้จนโลหิตหยดสุดท้าย ข้าพเจ้าจะต้องรักษาคำพูดประโยคนี้ไว้อย่างมั่นคง”
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
กรกฎาคม
2563
  ปรีดี พนมยงค์ ชื่อท่านคง ในดวงใจ ประชาชน ทั่วเขตไทย มิมีใคร ลืมปรีดี ท้าวความ ตามประวัติ รู้แน่ชัด ท่านผู้นี้ กอบกู้ ศักดิ์และศรี ทูลขอมี รัฐธรรมนูญ ใครว่า คนทําดี ย่อมได้ดี มาเกื้อกูล แม้ชนยกย่อง เทิดทูน ได้รัฐธรรมนูญ แล้วกลับไม่อินัง โศกเอย ท่านคงโศกเศร้า ปวดใจร้าว แทบภินท์พัง ห่วงไทย ด้วยความหวัง เชิดชูตรา ค่าของคน จิตใจ ท่านดั่งเพชร มิขามเข็ด ต่อเล่ห์คน ปรีดี ยังเวียนวน สะกิดใจ ไทยทั้งเมือง   *วรรณา สวัสดิ์ศรี เขียนเมื่อปี 2527
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์