ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาพหลพลพยุหเสนา

แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤษภาคม
2568
บทบาทของคณะทูตไทยประจำญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีเป้าหมายซ่อนเร้นในการติดต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ขณะเดียวกันต้องรักษาความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นในฐานะพันธมิตรทางการทูต
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤษภาคม
2568
ชีวิตของหลวงทัศไนยนิยมศึก (ทัศนัย มิตรภักดี) นายทหารม้าที่มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในฐานะ "ทัพหน้าทหารม้าและรถรบ" ของคณะราษฎร และเป็นหนึ่งในมิตรสนิทของ ปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มีนาคม
2568
ในวาระชาตกาลพระยาพหลพลพยุหเสนา ขอเสนอข้อมูลใหม่ของพระยาพหลฯ เรื่องตรวจราชการยังภาคอีสานเมื่อ พ.ศ. 2476 โดยมุ่งทำความเข้าใจสภาพท้องถิ่นและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจของราษฎรตามหลัก 6 ประการ
บทสัมภาษณ์
29
มีนาคม
2568
PRIDI Interview สัมภาษณ์พันตรีพุทธินาถ พหลพลพยุหเสนา บุตรชายพระยาพหลพลพยุหเสนา หนึ่งในผู้นำการอภิวัฒน์สยามในวาระชาตกาล 29 มีนาคม พระยาพหลฯ มีนิสัยซื่อสัตย์ กล้าหาญ และสมถะ และตกทอดมายังบุตรชายจนถึงปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2568
สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) ผู้เป็นพระอาจารย์ของพระยาพหลพลพยุหเสนา ผู้นำคณะราษฎร และอภิวัฒน์สยาม 2475 ที่ไม่เพียงเปลี่ยนแปลงการเมืองเพียงเท่านั้น แต่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพุทธศาสนาตามหลักประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
21
มีนาคม
2568
ภายหลังที่ปรีดี พนมยงค์ เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจได้เกิดกรณีขัดแย้งขึ้นจึงมีการผ่อนปรนนโยบายตามที่รัชกาลที่ 7 ทรงวิจารณ์และหลังการยึดอำนาจของรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนาได้มีการเสนอเรื่องสภาเศรษฐกิจเพื่อประนีประนอมขึ้น
บทบาท-ผลงาน
19
มีนาคม
2568
1 ปี หลังจากที่นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยจากการถูกกล่าวหาว่ามีแนวคิดคอมมิวนิสต์ ได้มีประชาชนหลายจังหวัด รวมถึงพระนครศรีอยุธยา ได้ร่วมลงชื่อในจดหมายถึงรัฐบาลเพื่อเรียกร้องให้ปรีดีกลับมาดำรงตำแหน่งและรับใช้ชาติอีกครั้ง
บทบาท-ผลงาน
18
มีนาคม
2568
1 ปี หลังจากที่นายปรีดี พนมยงค์ เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจหรือสมุดปกเหลืองต่อรัฐบาล ได้ถูกเกมการเมืองของฝ่ายพระยามโนปกรณ์นิติธาดากล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์จนต้องออกจากสยามแต่มีราษฎรเรียกร้องให้กลับมารับราชการดังเดิม
วันนี้ในอดีต
24
กุมภาพันธ์
2568
ชีวประวัติและบทบาททางสังคมการเมืองของแช่ม พรหมยงค์ สมาชิกคณะราษฎร เป็นจุฬาราชมนตรีสายซุนนีคนแรกของไทย เป็นสมาชิกเสรีไทย และส่งเสริมความสมานฉันท์ระหว่างศาสนา และสะท้อนความสัมพันธ์อันดีกับนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กุมภาพันธ์
2568
โครงการอนุสาวรีย์พระยาพหลพลพยุหเสนากลางถนนราชดำเนิน ถูกเสนอให้สร้างขึ้นในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อปี 2498 เพื่อรำลึกถึง “เชษฐบุรุษ” พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎรสายทหารหากโครงการฯ นี้มิได้เกิดขึ้น
Subscribe to พระยาพหลพลพยุหเสนา