ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พูนศุข พนมยงค์

วันนี้ในอดีต
19
พฤศจิกายน
2567
108 ปี ชาตกาล ครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ภริยาของนายจำกัด พลางกูร เสรีไทยคนสำคัญที่บอกเล่าเรื่องราวจากบันทึกความทรงจำ และความประทับใจที่มีต่อนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
วันนี้ในอดีต
30
ตุลาคม
2567
110 ปี ชาตกาลของจำกัด พลางกูร เป็นปากคำประวัติศาสตร์ของฉลบชลัยย์ พลางกูร ภรรยาของจำกัด ที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิต และการทำงานเสรีไทยของจำกัดอย่างละเอียด
วันนี้ในอดีต
29
ตุลาคม
2567
ในวาระ 14 ปี มรณกรรม ศุขปรีดา พนมยงค์ ได้เขียนถึง 21 ปี ที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้พํานักอยู่ในประเทศจีน ตั้งแต่ พ.ศ. 2492-2513 ซึ่งนายปรีดี และครอบครัวมีความรู้สึกซาบซึ้งในไมตรีจิตมิตรภาพของราษฎรจีน และผู้นําจีน
บทสัมภาษณ์
28
กันยายน
2567
บทสัมภาษณ์ครอบครัวของคุณสุพจน์ ด่านตระกูล เนื่องในวาระ 101 ปี ชาตกาล คุณสุพจน์ ด่านตระกูล เล่าถึงชีวิตและงานรวมทั้งความสัมพันธ์กับนายปรีดี ท่านผู้หญิงพูนศุข นายปาล และนายศุขปรีดา พนมยงค์
ชีวิต-ครอบครัว
20
กันยายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เขียนจดหมายเรื่องที่ 2 ถึงลูกคือ ปาล สุดา และศุขปรีดา พนมยงค์ ให้ความรู้เรื่องการเลือกตั้งของเทศบาลในเมืองและชนบทเพื่อเชื่อมโยงกับเศรษฐศาสตร์การเมืองเปรียบเทียบระหว่างเศรษฐกิจแบบศักดินาและชาวนา
บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2567
ความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ และโฮจิมินห์ ในการสนับสนุนการกอบกู้เอกราชของประเทศเวียดนาม จนนำไปสู่การประกาศเอกราชของประเทศเวียดนาม ณ จตุรัสบาดิ่น กลางกรุงฮานอย ในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2567
มารุต บุนนาค ในขณะเป็นนักหนังสือพิมพ์ได้ใช้นามปากกาว่า ผู้สื่อข่าวน้อย เขียนถึงการต่อสู้ของขบวนการนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่อ พ.ศ. 2494
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2567
วิเชียร วัฒนคุณ อดีตประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ผู้เสนอชื่อปรีดี พนมยงค์ให้ได้รางวัลยูเนสโก เป็นเสมือนผู้ปิดทองหลังพระ และมีความศรัทธาต่ออุดมคติทางสังคมการเมืองของปรีดีโดยได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไว้ในบทความชิ้นนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มิถุนายน
2567
บทความนี้เสนอเรื่องนายปรีดี พนมยงค์ จะเดินทางกลับจากปารีสมายังเมืองไทย เมื่อ พ.ศ. 2518 ผ่านหนังสือพิมพ์หลัก 2 ฉบับคือ เดลินิวส์ และไทยรัฐ และมีคำปราศรัยของนายปรีดีถึงชาวธรรมศาสตร์ในวาระครบรอบ 41 ปีวันสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2518
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤษภาคม
2567
การเชิญอัฐิธาตุของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระหว่างวันที่ 7-11 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 และปฏิกิริยาทางสังคมจากปารีสและไทยทั้งจากครอบครัว ลูกศิษย์ และนิสิตนักศึกษา รวมทั้งสื่อมวลชนที่ให้ความสนใจต่องานเชิญอัฐิธาตุในครั้งนี้
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์