ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร

แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2568
สุธรรม แสงประทุม อภิปรายถึงปัญหาความรุนแรงตลอดหลายทศวรรษของประเทศไทยตั้งและ แม้ว่านายปรีดี พนมยงค์จะเคยพยายามแก้ไขปัญหาสันติภาพในจังหวัดชายแดนใต้ แต่มีหลายปัจจัยที่ทำให้ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤษภาคม
2568
สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจไทย-สหรัฐฯ ที่เริ่มตั้งแต่ยุคสงครามเย็นจนถึงปัจจุบัน โดยมีการเปลี่ยนนโยบายจากการทดแทนการนำเข้าสู่การส่งออกและเปิดเสรีทางการค้า ซึ่งเอื้อต่อกลุ่มทุนใหญ่ ขณะเดียวกันก็สร้างความเหลื่อมล้ำและผลกระทบต่อแรงงานไทย
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เสนอให้เห็นการไม่ชอบธรรมและคอร์รัปชันในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม กรณีไม่ปราบปรามการค้าฝิ่นสะท้อนว่าแม้จะมีการเลือกตั้งไม่มีความเป็นประชาธิปและประชาชนได้แต่เพียง “ชเง้อดู” ความอยุติธรรมที่เกิดขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2568
เกร็ดประวัติศาสตร์และข่าวลือเรื่องนายปรีดี พนมยงค์ ลี้ภัยในลาว และความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี ท้าวกระต่าย โดนสโสฤทธิ์ รองนายกรัฐมนตรีของลาว และพลจัตวาสมัย แววประเสริฐ เอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศลาว
แนวคิด-ปรัชญา
12
ธันวาคม
2567
รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนจะเป็นส่วนสำคัญในการสร้างสิทธิเสรีภาพ สวัสดิภาพ และสันติภาพ ให้เกิดในสังคม ประชาชนทุกภาคส่วนต้องช่วยกันให้รัฐธรรมนูฐประชาชนให้เกิดขึ้น และต้องรักษาไม่ให้เกิดการรัฐประหารขึ้น โดยรัฐธรรมนูญปัจจุบันเป็น “นิติรัฐประหาร” ที่สร้างแต่ความขัดแย้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2567
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เขียนถึงเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 ด้วยการสรุปบริบททางการเมือง และเหตุการณ์อย่างละเอียดโดยขณะที่เกิดเหตุการณ์นั้นป๋วยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และลาออกในวันที่ 6 ตุลาคม 2519
แนวคิด-ปรัชญา
29
สิงหาคม
2567
หากในครานั้นนายปรีดี พนมยงค์ไม่ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจอันเป็นรากฐานของรัฐสวัสดิการขึ้น ปัจจุบันนี้สถานการณ์ทางการเมืองจะเป็นไปในทิศทางใด อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะไม่มีข้อเสนอดังกล่าว พลวัตทางการเมืองอาจก่อให้เกิดแนวทางนี้ขึ้นในสักวัน
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2567
สิ่งสำคัญสำหรับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยคือเป้าหมายร่วม ซึ่งเกิดจากจินตนาการและความเชื่อว่าประเทศนี้เป็นของประชาชน ดังนั้น แม้จะมีวิธีการและจุดยืนที่ต่างกัน แต่หากมีจินตนาการ ความเชื่อ และเป้าหมายเดียวกันก็จะสามารถขับเคลื่อนสู่ชัยชนะได้
แนวคิด-ปรัชญา
27
มิถุนายน
2567
พัฒนาการประชาธิปไตยไทยเหมือนกราฟ ขึ้นลงตลอด 92 ปี เคยถึงจุดสูงสุดแต่ก็ตกต่ำลงมา ศิธาเปรียบการเมืองไทยเป็น “ต้นไม้ประชาธิปไตยทาบกิ่งเผด็จการ” ที่มีเอกภาพของคนกระหายอำนาจมารวมกัน ขบวนการประชาธิปไตยจึงต้องเป็นเอกภาพในอุดมการณ์และเจตนารมณ์
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2567
‘ความเห็นแตกต่าง’ เป็นปัจจัยสำคัญของการสร้างประชาธิปไตย และ ‘ระบอบประชาธิปไตย’ นั้น อาจเป็นโครงการที่ไม่สิ้นสุด แม้จะผลักดันให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยในแง่หลักการพื้นฐานได้แล้วก็ตาม แต่ย่อมจะเกิดความต้องการอื่นๆ ตามมาอย่างลึกซึ้งและซับซ้อนขยายจากพรมแดนแห่งหลักการพื้นฐานทางประชาธิปไตย
Subscribe to รัฐประหาร