ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐสวัสดิการ

บทบาท-ผลงาน
17
เมษายน
2567
ข้อเสนอด้านเศรษฐกิจและสวัสดิการของปรีดี พนมยงค์ ยังมีความทันสมัย แม้บางประเด็น เช่น การผูกขาดทางเศรษฐกิจ การแยกส่วนนโยบาย และระบบภาษี ยังไม่ได้รับการแก้ไข จึงจำเป็นต้องผลักดันต่อไป
แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2567
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงประสบการณ์ การทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย ที่ทำให้เจอกับการสบประมาท การด้อยค่า สาเหตุสำคัญมาจากสภาพสังคมไทยที่ถูกกดทับด้วยระบบชายเป็นใหญ่ นอกจากนั้นยังกล่าวถึงการต่อสู้ช่วงในปี 2559 ซึ่งเป็นกรณีของ ‘กรกนก คำตา’ หรือพี่ปั๊ป ที่ถูกจับเข้าไปในเรือนจำ อีกทั้งประเด็นเรื่องรัฐสวัสดิการ และรัฐธรรมนูญอีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2567
'พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์' เปิดประเด็นการเสวนาด้วยการกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข ที่เป็นต้นแบบสำคัญที่นักสันติภาพที่สำคัญคนหนึ่งในสังคมไทย อีกทั้งบทบาทและอุปสรรคของผู้หญิง ที่ลุกขึ้นมาเป็นแกนนำในการผลักดันประเด็นต่างๆ รวมไปถึงความเจ็บปวดของคนกลุ่มน้อยที่ในสังคมรับฟังแต่คนเสียงดังๆ
บทสัมภาษณ์
20
ธันวาคม
2566
PRIDI Interview : เลือกตั้งกรรมการประกันสังคม อนาคตรัฐสวัสดิการไทย รองศาสตราจารย์ ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี ตัวแทนจากทีมประกันสังคมก้าวหน้าถึงความสำคัญของการเลือกตั้งกรรมการประกันสังคมและกองทุนประกันสังคมมูลค่ากว่า 2.3 ล้านล้านบาท
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2566
สรุปสาระสำคัญภายในงาน“ เลือกตั้งคณะกรรมการประกันสังคม ปฏิรูปอะไร? อย่างไร?” เมื่ออังคารที่ 12 ธันวาคม 2566 ณ ห้องประชุมประภาศน์ อวยชัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
27
พฤศจิกายน
2566
4-5 พฤศจิกายน 2566 ในเทศกาลละครกรุงเทพ ณ หอศิลป์กรุงเทพ สังคมไทยได้ตระหนักรู้ถึงความเป็นวัฒน์ วรรลยางกูร และผลงานอันมีค่าของเขาอีกครั้งหนึ่ง ดังที่ผู้เป็นบุตรได้บอกเล่าถึงความเป็นตัวตนทางความคิดของผู้เป็นพ่อด้วยความรักและภาคภูมิใจในรูป Documentary Theatre
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2566
นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการไทย”
บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2566
ความจำเป็นของการปฏิรูปประกันสังคมและกองทุนประกันสังคม ในฐานะกองทุนขนาดใหญ่ที่ถือครองเม็ดเงินจำนวนมหาศาลในขณะเดียวกันก็ดูแลคนจำนวนกว่า 24 ล้านคนทั่วประเทศที่ปัจจุบันยังคงปรากฏข้อบกพร่องในหลากหลายด้าน
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2566
บทความนี้ อาจารย์ษัษฐรัมย์ นำเสนอถึงเหตุผลสำคัญเบื้องต้นว่าทำไมบรรดาชนชั้นนำในสังคมจึงปฏิเสธสวัสดิการ “บำนาญถ้วนหน้า” อันเกี่ยวโยงกับเหตุผลเรื่องความกังวลในค่าใช้จ่าย ผลทางเศรษฐกิจระยะสั้น ความมั่นคงทางสังคม หรืออื่นๆ
Subscribe to รัฐสวัสดิการ