ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

แนวคิด-ปรัชญา
27
มกราคม
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' ได้เขียนบันทึกถึงท่าทีของประเทศมหาอำนาจสัมพันธมิตรอันเนื่องมาจากการกระทำของรัฐบาลไทย ภายใต้การนำของจอมพล ป. พิบูลสงคราม
บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2565
10 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และรัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นจุดที่รัฐบาลไทยหันเข้าหาญี่ปุ่นเต็มตัว และต่อต้านสัมพันธมิตร เข้าสู่สงครามเป็นทางการ [1] คำถามสำคัญคือ ทำไมวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 จึงเป็นโมฆสงครามตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ ในบทความนี้จะค่อยๆ คลี่ให้เห็นคำตอบต่อไป  
ชีวิต-ครอบครัว
14
มกราคม
2565
ที่สำคัญ วันนี้เป็นวันของเด็กรุ่นใหม่ ควรเอาใจใส่เรื่องการเมือง สื่อมวลชนควรมีจิตสำนึกทางประวัติศาสตร์ เราต้องอย่าลืมอดีต ไม่มีอดีตจะมีปัจจุบันได้อย่างไร
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ธันวาคม
2564
ท่าแขกเป็นเมืองเอกของแขวงคำม่วน ตั้งอยู่ริมฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงจังหวัดนครพนมฝั่งไทย ทางกายภาพแขวงคำม่วนใหญ่กว่าเขตปกครองระดับจังหวัดของประเทศไทยเล็กน้อย
บทบาท-ผลงาน
16
ธันวาคม
2564
เมื่อกองทัพญี่ปุ่นยาตราทัพเข้ามาไทยได้ โดยทหารไทยได้รับคำสั่งจากผู้บัญชาการทหารสูงสุดมิให้ทำการต่อต้านแล้ว ฝ่ายญี่ปุ่นก็เริ่มละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และวางยามล้อมรอบสถานทูตอังกฤษ อเมริกัน เนเธอร์แลนด์ และได้จัดตั้งองค์การตำรวจปราบปรามที่นาซีเยอรมันเรียกว่า “แกสตาโป” ญี่ปุนเรียกว่า “แกมเปอิ” ตามล่าตัวเสรีจีนที่เป็นหน่วยสาขาของจีนซึ่งโฆษณาทิ้งใบปลิวโจมตีญี่ปุ่นตลอดมาก่อนญี่ปุ่นเข้าเมืองไทย 
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ธันวาคม
2564
หากจะกล่าวถึงการที่ประเทศไทยสามารถผ่านพ้นช่วงวิกฤตจากสงครามโลกครั้งที่ 2 มาได้ และดำรงคงไว้ซึ่งเอกราช มิอาจปฏิเสธได้ว่าส่วนที่สำคัญที่สุดเพราะเรามี "ขบวนการเสรีไทย"
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ธันวาคม
2564
“............ วนเวียนมาก็นานแล้วกับความทรงจำเก่าๆ อาจจะถึงเวลาที่ใกล้จะต้องจบลงเสียทีกระมัง สงครามก็ใกล้จะสิ้นสุด และงานการหน้าที่ของเสรีไทยในอเมริกาก็บรรลุตามที่มุ่งหมายเอาไว้แล้ว ด้วยความร่วมมือของคนหลายฝ่าย ทั้งเสรีไทยในประเทศ ทั้งเสรีไทยในอเมริกาด้วยกันที่รับผิดชอบหน้าที่อื่นที่ไม่ใช่งานสนามรบโดยตรง อาจจะยังคงเหลืองานอยู่อีกส่วนหนึ่งที่ยังมิได้กล่าวถึงโดยเฉพาะ นั่นก็คือ งานของพวกผู้หญิง เขาทำอะไรกัน แล้วคราวหน้าก็คงจะจบลงด้วยเรื่องว่าพวกเขาอยู่ที่ไหนเมื่อประเทศสงบสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2564
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า นับเป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระชนมายุยืนยาวจนได้ทอดพระเนตรสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง ทรงเป็นพระชนนีของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ซึ่งต่อมาได้เฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในห้วงเวลาของสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สมเด็จพระพันวัสสาฯ จึงมีศักดิ์เป็น “พระอัยยิกา” ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2564
เนื้อหาของกลอนบทนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความเรียกร้องต้องการของยุคสมัย อันเป็นสากล ได้แก่ การต่อสู้กู้เอกราชของประชาชาติเมืองขึ้น
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2