ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2564
นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล มิได้ลงนามประกาศสงครามกับ ‘บริเตนใหญ่’ และสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งกลายมาเป็นเหตุหนึ่งในการประกาศความเป็นโมฆะ
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มกราคม
2564
วันที่ 21 ธันวาคม 2484 (หลังการบุกของญี่ปุ่นเพียง 13 วัน) จอมพล ป. ได้ลงนามในกติกาสัญญาพันธมิตรกับญี่ปุ่น และในวันที่ 25 มกราคม 2485 ในเวลาเพียงเดือนครึ่งถัดมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามก็ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐฯ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มกราคม
2564
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไรบ้าง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มกราคม
2564
คืนวันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม 2484 ประเทศไทยได้เผชิญกับเหตุการณ์ที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดในประวัติศาสตร์แห่งยุครัตนโกสินทร์ เมื่อญี่ปุ่นยื่นความจำนงของเดินทัพผ่านไทย ไปโจมตีมลายูและพม่า ซึ่งในขณะนั้นเป็นอาณานิคมของอังกฤษ
บทสัมภาษณ์
14
มกราคม
2564
บันทึกความทรงจำของ ม.ร.ว.สายสวัสดี ธิดา ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ที่มีต่อท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
28
ธันวาคม
2563
นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ เป็นตัวแทนทายาทนายปรีดี พนมยงค์ มอบรางวัล “ช้างเผือก” แก่ผู้ชนะการประกวดหนังสั้น ในเทศกาลภาพยนต์สั้นครั้งที่ 24 (24th Thai Short Film and Video Festival) ซึ่งเป็นเทศกาลภาพยนตร์ที่จัดต่อเนื่องยาวนานที่สุดของประเทศไทย โดยหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)
ชีวิต-ครอบครัว
28
ธันวาคม
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ฟื้นความหลังผ่าน 'คำบอกเล่าถึงอดีต' ในฐานะภรรยาของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
บทบาท-ผลงาน
22
ธันวาคม
2563
ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน ตั้งข้อสังเกตถึงการศึกษาทางรัฐธรรมนูญที่จะช่วยสนับสนุนระบอบประชาธิปไตย พร้อมทั้งให้แง่คิดบทเรียนจากชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2563
หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ปรีดียังดำเนินการอีกหลายประการเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการที่ได้ประกาศไว้
ชีวิต-ครอบครัว
15
พฤศจิกายน
2563
15 พฤศจิกายน 2495 ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถูกจับกุมตัวในข้อหา 'กบฏสันติภาพ'
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2