ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2564
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า นับเป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระชนมายุยืนยาวจนได้ทอดพระเนตรสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง ทรงเป็นพระชนนีของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ซึ่งต่อมาได้เฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในห้วงเวลาของสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สมเด็จพระพันวัสสาฯ จึงมีศักดิ์เป็น “พระอัยยิกา” ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2564
เนื้อหาของกลอนบทนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความเรียกร้องต้องการของยุคสมัย อันเป็นสากล ได้แก่ การต่อสู้กู้เอกราชของประชาชาติเมืองขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤศจิกายน
2564
ในพรมแดนของการแสดงออกทางศิลปะร่วมสมัยนั้น ศิลปะการละครมักจะสามารถยืนอยู่ในมุมที่นำเสนอทางเลือกที่แปลกใหม่ให้กับผู้ชมได้เสมอ ท่ามกลางบรรยากาศของการถูกกำกับควบคุมโดยกลไกของรัฐบางอย่าง
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2564
การริเริ่มวางนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้น เกิดขึ้นครั้งแรกภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยามในปี พ.ศ. 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤศจิกายน
2564
พญาฟ้างุ่มตั้งตัวเป็นอิสระเมื่ออำนาจการปกครองขอมอ่อนแอและกำลังดำเนินไปสู่ความเสื่อมสลาย เช่นเดียวกับอาณาจักรสุโขทัยที่ได้สถาปนาขึ้นก่อนหน้านี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
พฤศจิกายน
2564
ในที่สุด กลุ่มนายทหารนอกประจำการนำโดย ผิน ชุณหะวัณ กาจ กาจสงคราม เผ่า ศรียานนท์ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถนอม กิตติขจร ประภาส จารุเสถียร ก็ทำรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ ยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2489 ที่มความเป็นประชาธิปไตยอย่างมาก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2564
คำให้การของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤศจิกายน
2564
จดหมายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึง นายปรีดี พนมยงค์, ใน, คำให้การต่อศาลอาชญากรสงคราม เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2564
แม้ไม่มีหลักฐานชิ้นใดที่จะชี้ชัดไปว่า ญี่ปุ่นรู้หรือไม่ว่ามีขบวนการเสรีไทยเกิดขึ้น และถ้ารู้ รู้เมื่อไหร่ และรู้อย่างไร โดยเฉพาะในช่วงปลายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีการต่อต้านญี่ปุ่น
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2564
“ในประเทศนี้ยังมีใครอีกหลายคนที่เขาได้ทำหน้าที่เพื่อประเทศชาติเช่นกัน ถึงแม้จะไม่ได้รับการบันทึกชื่อเอาไว้ในประวัติศาสตร์”
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2