สมบูรณาญาสิทธิราชย์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2564
แทบไม่น่าเชื่อ เพียงราว 2 ปี ภายหลังรัชกาลของพระผู้ทรงสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และพระผู้ทรงเป็นทุกสิ่งทุกอย่างของสยามได้สิ้นสุดลง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2564
จุดเริ่มต้นแห่งการก่อเกิดประชาธิปไตยนั้น ได้เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถูกส่งต่อมาเรื่อยๆ จนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 7 โดยมีทั้งชนชั้นสูงอย่างเจ้าขุนมูลนาย และ ราษฎรไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2564
นายปรีดีเติบโตมากับกระแสธารความเปลี่ยนแปลงบนหน้าประวัติศาสตร์ และสิ่งที่ครูเอ่ยกับเขานั้น เขาจำได้ไม่ลืมเลือนทีเดียว กล่าวคือ เมื่อฝ่ายกษัตริย์แห่งราชวงศ์แมนจูต้องพ่ายแพ้แก่ฝ่ายเก็กเหม็ง
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
4
มกราคม
2564
บางส่วนจากบทรำลึกของ 'ภาณุมาศ ภูมิถาวร' เจ้าของหนังสือ 'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ คู่ชีวิตผู้อภิวัฒน์ประชาธิปไตย'
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ธันวาคม
2563
'ชวลิต ตั้งวงษ์พิบูลย์' ตามรอยไปสืบดูถึงความเป็นไปในสถานที่นั้น พบว่า ผู้ก่อการมาดื่มกาแฟกันที่นี่: Café Select ไม่ใช่ Café de la Paix
บทความ • บทบาท-ผลงาน
20
ธันวาคม
2563
ในช่วง 14 ปีภายใต้การนำของท่าน ดร.ปรีดี ระบอบรัฐธรรมนูญของไทยได้ก้าวหน้าขึ้นมาก หากไม่มีการปฏิวัติรัฐประหารมาขัดจังหวะ การเมืองไทยก็คงจะมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพมากกว่านี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
ธันวาคม
2563
นายวิเชียร เพ่งพิศ ยกคำอธิบายของนายปรีดี พนมยงค์ ในหนังสือ 'คำอธิบายกฎหมายปกครอง' ซึ่งเขียนไว้ตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง มาอธิบายความเป็นไปในการร่างรัฐธรรมนูญที่นายปรีดีมีส่วนเกี่ยวข้อง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to สมบูรณาญาสิทธิราชย์
2
ธันวาคม
2563
แม้เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นผู้ร่างปฐมรัฐธรรมนูญนี้ แต่หลายคนคงยังไม่ทราบว่า หลวงประดิษฐ์ฯ ใช้ให้ นายชุบ ศาลยาชีวิน เป็นผู้พิมพ์ดีดร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ขึ้นมา