ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2565
ลักษณะเฉพาะของรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เมื่อประกอบรวมกันจึงฉายภาพให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่ของเหตุการณ์ดังกล่าวในสายธารประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้ส่งผ่านมายังฐานคิดของคนในยุคหลังจากเหตุการณ์นั้น อันมีผลต่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน
บทบาท-ผลงาน
24
ตุลาคม
2565
พอว่ากันเรื่องเกาะที่เป็นถิ่นกำเนิดของ กูร์นาห์ จู่ๆ ผมก็ระลึกถึง นายปรีดี พนมยงค์ คุณผู้อ่านคงขมวดคิ้วสงสัย เอ๊ะ! นายปรีดี ไปเกี่ยวข้องอะไรกับแซนซิบาร์?
แนวคิด-ปรัชญา
14
กันยายน
2565
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ หยิบยกข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของความเป็นอนิจจังที่ปรากฏขึ้นจากทั่วทุกสารทิศ เพื่อนำเสนอถึงการกลวิธี ลักษณะ และรูปแบบ ที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบเก่าไปสู่ระบอบใหม่
บทบาท-ผลงาน
13
กันยายน
2565
ความพยายามในการสร้างรัฐประชาธิปไตยด้วยการสถาปนารัฐสมัยใหม่ของนายปรีดี พนมยงค์ ภายใต้บทบาทและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองครั้งสำคัญนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 และการสานต่อเจตนารมณ์แห่งการอภิวัฒน์ภายหลังจากนายปรีดีขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2565
เนื้อหาในบทความนี้ ได้รวบรวมฎีกาต่างๆ ที่บอกถึงความทุกข์ยาก ถูกเอารัดเอาเปรียบของชาวนาและราษฎรไทยบนแผ่นดินสยาม เมื่อครั้งสยามประเทศยังปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทั้งในเรื่องความเป็นอยู่ และสภาพเศรษฐกิจในเวลานั้น เรื่องเหล่านี้เองเป็นสาเหตุใหญ่ซึ่งเป็นที่มาของการอภิวัฒน์สยาม 2475
บทบาท-ผลงาน
23
กรกฎาคม
2564
การขยายตัวของเมืองเมื่อเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ภาวะสมัยใหม่ และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่รวมศูนย์อำนาจการปกครองและเศรษฐกิจเข้าสู่เมืองหลวง ส่งผลไปสู่การปรับเปลี่ยนรูปร่างหน้าตาและประโยชน์ใช้สอยของอาคาร พื้นที่สาธารณะ ในเขตกรุงเทพชั้นในอย่างใหญ่หลวง
บทสัมภาษณ์
8
กรกฎาคม
2564
“คณะราษฎร 2475” คือ ปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่สำคัญมากและเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของความเปลี่ยนแปลงในแง่ของสังคม ในแง่ของการเมือง ในแง่ของอะไรอีกหลายอย่าง รวมทั้งเศรษฐกิจ และเรื่องวัฒนธรรม”
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2564
แม้รัชกาลที่ 7 จะมีการรับสั่งให้ร่างรัฐธรรมนูญ ที่ยังคงมีเนื้อหาที่มุ่งไปสู่การเอื้ออำนวยให้เกิดความชอบธรรมแก่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่แก้ไขใหม่เท่านั้น ในแง่นี้การมีรัฐธรรมนูญจึงไม่เท่ากับการมีประชาธิปไตยด้วย นี่จึงเป็นหนึ่งในบรรดาเหตุผลที่คณะราษฎรเลือกที่จะทำการอภิวัฒน์เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2564
แทบไม่น่าเชื่อ เพียงราว 2 ปี ภายหลังรัชกาลของพระผู้ทรงสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และพระผู้ทรงเป็นทุกสิ่งทุกอย่างของสยามได้สิ้นสุดลง
แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2564
จุดเริ่มต้นแห่งการก่อเกิดประชาธิปไตยนั้น ได้เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถูกส่งต่อมาเรื่อยๆ จนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 7 โดยมีทั้งชนชั้นสูงอย่างเจ้าขุนมูลนาย และ ราษฎรไทย
Subscribe to สมบูรณาญาสิทธิราชย์