ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
ชีวิต-ครอบครัว
30
กรกฎาคม
2566
ปลายได้มาใช้ชีวิตอยู่ในฝรั่งเศส จึงจำเป็นที่จะต้องปรับตัวอย่างไม่อาจเลี่ยงได้ อย่างไรก็ตาม สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมที่แปลกใหม่ ได้สร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับปลายมิใช่น้อย
แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2566
ภายใต้สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศในแต่ละยุคสมัย การพยายามเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไม่ว่าจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม ได้อาศัยการขับเคลื่อนของคณะบุคคลเป็นระยะๆ โดยความพยายามในอดีตได้สร้างแรงบันดาลใจต่อการพยายามในสมัยต่อมา
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2566
การจะไปสู่ชัยชนะจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาได้นั้น ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า เราจะตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้พรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยแตกเป็นสองฝ่าย และไม่เกิดการสลับขั้วย้ายข้าง อันเป็นหายนะ และต้องตระหนักว่าปัญหาที่ยิ่งใหญ่ คือความไม่เป็นประชาธิปไตยยังเข้มแข็ง ซับซ้อน ต้องใช้เวลา และความพยายามจนกระทั่งเราฝ่าไปได้
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2566
ชวนพิจารณา 4 ประเด็น ได้แก่ อำนาจเก่า ผลประโยชน์ แรงสนับสนุน และการสืบต่อสายธารประชาธิปไตย ปัจจัยทั้งสี่สะท้อนชีวิตของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ นับตั้งแต่ก่อนการอภิวัฒน์จนส่งผ่านมาถึงปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2566
อำนาจบริหารของเจ้าหน้าที่ทำการแทนรัฐบาลกลางในช่วงรัชสมัยของรัชกาลที่ 6 เรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 7 ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนลักษณะการบริหารบางประการ และอำนาจบริหารของเจ้าหน้าที่ผู้แทนกระทรวงทบวงการซึ่งได้ประจำอยู่ตามมณฑลต่างๆ ภายในรัฐ
แนวคิด-ปรัชญา
24
มิถุนายน
2566
อ่านที่มาของการตั้งชื่อของ “คณะราษฎร” ผ่านคำบอกเล่าของนายปรีดี พนมยงค์ เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
บทบาท-ผลงาน
24
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ชี้แจงถึงมูลเหตุ จุดเริ่มต้นของการอภิวัฒน์ 2475 ว่าคณะราษฎรไม่ใช่คนกลุ่มแรกที่มีความคิดเปลี่ยนแปลงการปกครองในสยาม หากแต่เป็นพัฒนาการต่อเนื่องจากเหตุการณ์ ร.ศ. 103 ในสมัยรัชกาลที่ 5 และ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 6 และยังกล่าวถึงการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 กับคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ได้มีข้อเขียนแสดงความเป็นมาของการเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัฒน์สยามเมื่อคราว 24 มิถุนายน 2475 ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นหลักฐานที่กล่าวแทนคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
21
มิถุนายน
2566
ความคิด ความอ่าน และความเคลื่อนไหวของคนในระบอบเก่าก่อนระบอบประชาธิปไตยจะบรรลุผลสำเร็จ ความทุกข์ร้อนใจของประชาชนที่มีต่อปัญหาในทุกๆ มิติ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ตัวบทดังกล่าวชี้ให้เห็นพลวัตของการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง รวมไปถึงความคาดหวังของประชาชนในฐานะคนตัวเล็กๆ ในสังคมสยาม ณ ขณะนั้น
Subscribe to สมบูรณาญาสิทธิราชย์