ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

เกร็ดประวัติศาสตร์
2
ธันวาคม
2563
แม้เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นผู้ร่างปฐมรัฐธรรมนูญนี้ แต่หลายคนคงยังไม่ทราบว่า หลวงประดิษฐ์ฯ ใช้ให้ นายชุบ ศาลยาชีวิน เป็นผู้พิมพ์ดีดร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ขึ้นมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2563
ความฝันถึงการมีรัฐธรรมนูญเป็นหลักในการปกครองประเทศปรากฏขึ้นก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ราวกึ่งศตวรรษ ดังมีคำกราบบังคมทูลของเจ้านายและขุนนางถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใน ร.ศ. 103 เป็นตัวอย่าง
บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2563
หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ปรีดียังดำเนินการอีกหลายประการเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการที่ได้ประกาศไว้
บทสัมภาษณ์
20
พฤศจิกายน
2563
ในปี พ.ศ. 2522 นายแอนโทนี พอล ผู้สื่อข่าวนิตยสาร เอเชียวีค ประจำกรุงปารีส ได้สัมภาษณ์นายปรีดี พนมยงค์ ณ บ้านอองโตนี ชานกรุงปารีส
บทบาท-ผลงาน
18
พฤศจิกายน
2563
หากจะกล่าวว่า ท่านปรีดีผู้วางรากฐานการศึกษากฎหมายปกครองและการจัดตั้งศาลปกครองของไทย ก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2563
เกษียร เตชะพีระ ทบทวนบริบทแห่งการสร้างความคิดทางการเมืองของนายปรีดีว่ามาจาก (1) ระบอบล่าอาณานิคม (2) ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และ (3) ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ในห้วงเวลานั้น
ชีวิต-ครอบครัว
15
พฤศจิกายน
2563
15 พฤศจิกายน 2495 ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถูกจับกุมตัวในข้อหา 'กบฏสันติภาพ'
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
พฤศจิกายน
2563
นายปรีดีเขียนขยายความไว้ด้วยว่า "ถ้าหนังสือเล่มนั้นยังอยู่ที่ทายาทท่านผู้นี้ ก็คงจะพบว่า หนังสือนั้นไม่มีปกหน้า เพราะข้าพเจ้าฉีกเผาไฟแล้วเพื่อความปลอดภัย"
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2563
อ่านชีวประวัติของนายเสริม วินิจฉัยกุล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เสรีไทย ซึ่งเคยเป็นผู้ช่วยจัดทำตำรา ม.ธ.ก. ต่อได้ที่บทความเรื่องนี้ของ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ'
แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2563
จากอุทาหรณ์ในประวัติศาสตร์ นายปรีดีเห็นได้ว่า ในยุโรปนั้นระบบประชาธิปไตยโดยวิธีสันติเป็นไปได้โดยเงื่อนไข 2 ประการ คือ...
Subscribe to สมบูรณาญาสิทธิราชย์