ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สุพจน์ ด่านตระกูล

วันนี้ในอดีต
24
กุมภาพันธ์
2568
ชีวประวัติและบทบาททางสังคมการเมืองของแช่ม พรหมยงค์ สมาชิกคณะราษฎร เป็นจุฬาราชมนตรีสายซุนนีคนแรกของไทย เป็นสมาชิกเสรีไทย และส่งเสริมความสมานฉันท์ระหว่างศาสนา และสะท้อนความสัมพันธ์อันดีกับนายปรีดี พนมยงค์
บทสัมภาษณ์
28
กันยายน
2567
บทสัมภาษณ์ครอบครัวของคุณสุพจน์ ด่านตระกูล เนื่องในวาระ 101 ปี ชาตกาล คุณสุพจน์ ด่านตระกูล เล่าถึงชีวิตและงานรวมทั้งความสัมพันธ์กับนายปรีดี ท่านผู้หญิงพูนศุข นายปาล และนายศุขปรีดา พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
25
กันยายน
2567
พิชัย เพ็ชรมะโนสัจจะ เขียนจดหมายถึงปรีดี พนมยงค์ ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส จำนวน 2 ฉบับในปี 2516 เกี่ยวกับการตั้งบุตรชายของตนเองว่า ปรีดี และมีจดหมายตอบกลับจากปรีดีถึงพิชัย 1 ฉบับ
วันนี้ในอดีต
17
กันยายน
2567
ในวาระ 101 ปีชาตกาล คุณสุพจน์ ด่านตระกูล นักคิดนักเขียนคนสำคัญที่ผลิตผลงานเกี่ยวข้องกับคณะราษฎร และนายปรีดี พนมยงค์ บทความนี้เสนอความสัมพันธ์ของนายปรีดีและนายปาล พนมยงค์กัยนายสุพจน์ผ่านจดหมายโต้ตอบระหว่างกันบางส่วน
วันนี้ในอดีต
9
กันยายน
2567
รำลึกถึงประวัติของสุพจน์ ด่านตระกูลนักเขียนคนสำคัญผู้เป็นเจ้าของผลงาน ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกรณีสวรรคตและหนังสือเล่มอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการยกย่องชีวิตกับผลงานของนายปรีดี พนมยงค์ไปจนถึงยืนหยัดถึงความบริสุทธิ์ของกรณีสวรรคต
บทบาท-ผลงาน
6
กันยายน
2567
ภายหลังจากที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2488 นายปรีดี พนมยงค์ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้ส่งโทรเลขลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2488 อัญเชิญเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัติพระนคร และหนังสือโต้ตอบระหว่างทั้งสองท่านโดยได้นำเสนอไว้ครบถ้วนในบทความนี้
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2566
บทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน โดยกล้า สมุทวณิช ผู้สัมภาษณ์ อาทิ อุปสรรคของประชาธิปไตยไทย, บทบาทและความจำเป็นขององค์กรอิสระ, ข้อเปรียบเทียบศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศและความชอบธรรมทางการเมือง, เรื่องเร่งด่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ ตลอดจนทางออก ข้อเสนอ และข้อคิดเห็นถึงการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ที่สมควรจะเกิดขึ้น เป็นต้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2566
นายพึ่ง ศรีจันทร์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรสมัย พ.ศ. 2490 นับเป็นบุคคลในแบบอย่างของการวางตัวให้สมาชิกทุกพรรคเคารพยำเกรงในการทำหน้าที่
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มิถุนายน
2566
เรื่องราวของ นายสงวน ตุลารักษ์ ในช่วงหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ในฐานะสมาชิกคณะราษฎรปีกซ้ายซึ่งมีแนวคิดสังคมนิยม ทว่ากลับต้องเผชิญกับวิบากกรรมทางการเมืองด้วยข้อกล่าวหากระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ เนื่องด้วยการเผยแพร่แนวคิดแบบสังคมนิยม
Subscribe to สุพจน์ ด่านตระกูล