ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

บทบาท-ผลงาน
2
เมษายน
2566
อ่านจุดเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ระหว่าง 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านข้อเขียนเรื่อง "รัฐบุรุษอาวุโสกลับคืนสู่มาตุภูมิ" และ "การลาออกของนายปรีดี" บทความของกุหลาบซึ่งได้ตีพิมพ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2490
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
มีนาคม
2566
กิจวัตรประจำวันของนายปรีดี พนมยงค์ กับความโปรดปรานในการรับชมภาพยนตร์แนวสารคดีประวัติศาสตร์ หากการรับชมนั้นนายปรีดียังได้ฝากทรรศนะวิจารณ์ไว้ได้อย่างแยบคาย โดยเฉพาะเมื่อนายปรีดีได้รับชมภาพยนตร์แนวบุกเบิกตะวันตก
บทบาท-ผลงาน
19
มีนาคม
2566
อ่านประวัติศาสตร์ระหว่างบรรทัดกับเรื่องราวของ 'นายบุญเอก ตันสถิตย์' อีกหนึ่งสมาชิกสายพลเรือนที่เข้าร่วม "คณะ ร.ศ. 130" ผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ห้วงวันวานคุณูปการของสมาชิกทุกคนในคณะ ร.ศ. 130 กลับประทับชัดเจนในความทรงจำของนายปรีดีในฐานะ "พวกพี่ๆ" เสมอมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ บอกเล่าเรื่องภายหลังจาก "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" ต้องประสบกับความล้มเหลว รวมไปถึงท่าทีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้แสดงทรรศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ และสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น
บทบาท-ผลงาน
19
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ชวนย้อนไปสู่การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 5/2481 (สามัญ) สมัยที่ 2 ชุดที่ 3 ซึ่งปรากฏการตั้งกระทู้ถามตอบในกรณีการขายเงินเหรียญบาทออกนอกประเทศ ของ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
บทบาท-ผลงาน
12
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงบทบาทของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ผ่านการกำหนดพื้นที่สำหรับการสร้าง "ป่าช้าสุเหร่าบางลาว" ในละแวกตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในย่านดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อคราวรั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กับการร้องเรียนและขอความช่วยเหลือโดยกลุ่มแขกเจ้าเซ็น กรณีปัญหาความกังวลเกี่ยวกับศาสนวัตถุพระปั้นหย่า ซึ่งมีทีท่าว่าจะถูกปลอมแปลง จนอาจส่งผลต่อความเลื่อมใสของศาสนิกชน
แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงนายปรีดี พนมยงค์กับความเป็นมาของสูทสีกรมท่าตัวโปรดอันเป็นภาพคุ้นตาตามที่ได้ถูกบันทึกไว้ในขณะที่นายปรีดีใช้ชีวิตและลี้ภัยทางการเมือง ณ ต่างแดน นอกจากนี้ยังได้บอกเล่าพัฒนาการโดยย่อของประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายที่เกิดขึ้นในโลกตะวันตก ราวต้นศตวรรษที่ 19 ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดของแฟชั่นชุดสูทแบบสากล
แนวคิด-ปรัชญา
3
มกราคม
2566
เสียงสะท้อนหนึ่งจากการเคลื่อนไหวทางสังคมในโมงยามปัจจุบัน คือการขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคทางเพศแก่ประชาชน เพื่อรองรับแก่คนทุกผู้ทุกนามผ่านรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าเขาเหล่านั้นจะอยู่ในเพศวิถีหรือเพศสภาพใดก็ตาม
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
ธันวาคม
2565
เหตุการณ์เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ในทศวรรษ 2480 ผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายสวงษ์ เสมดี' ศึกษาธิการประจำอำเภอแม่สอด ซึ่งปรากฏภาพบรรยากาศภายในจังหวัดตากที่สะท้อนถึงการเคลื่อนไหวและพลวัตทางสังคม
Subscribe to อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ