แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
ธันวาคม
2563
เศรษฐกิจกับรัฐธรรมนูญสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในลักษณะที่ทั้งเป็นการรับรองสิทธิของประชาชนภายในรัฐในทางเศรษฐกิจ และกำหนดกรอบทิศทางระบบเศรษฐกิจของรัฐจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2563
เกษียร เตชะพีระ ทบทวนบริบทแห่งการสร้างความคิดทางการเมืองของนายปรีดีว่ามาจาก (1) ระบอบล่าอาณานิคม (2) ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และ (3) ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ในห้วงเวลานั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2563
เมื่อ พ.ศ. 2514 นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับเอกภาพของชาติ ในประเทศที่มีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ/ภาษา/ศาสนา โดยยกอุทาหรณ์ในอดีตที่เคยเกิดขึ้นทั้งในต่างประเทศและในประเทศเองมาให้ 'อนุชน' พิจารณา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2563
จากอุทาหรณ์ในประวัติศาสตร์ นายปรีดีเห็นได้ว่า ในยุโรปนั้นระบบประชาธิปไตยโดยวิธีสันติเป็นไปได้โดยเงื่อนไข 2 ประการ คือ...
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้สรุปหลักการร่างรัฐธรรมนูญไว้ 2 ประการ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่ความหมาย การมีรัฐธรรมนูญกับการมีระบอบประชาธิปไตย และประเภทของรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรกับธรรมเนียมประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2563
หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ที่มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้ข้อสังเกตที่น่าสนใจหลายประการในการจัดทำรัฐธรรมนูญ พร้อมทั้งเกร็ดประวัติศาสตร์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2563
ในปี 2516 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคมแล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความเพื่อถอดบทเรียนจากความผิดพลาดและล้มเหลวของคณะราษฎร และบางเรื่องในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ตนเกี่ยวข้อง