ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2564
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤษภาคม
2564
ปาฐกถาวันปรีดี พนมยงค์ “รัฐสวัสดิการเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร” เนื่องในวาระ 121 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2564
แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2564
กระแสธารแห่งการเปลี่ยนแปลงไหลเชี่ยวกรากยิ่งในช่วงทศวรรษ ๒๔๖๐ และ ๒๔๗๐ เริ่มตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิรัสเซีย พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ แห่งราชวงศ์โรมานอฟถูกโค่นล้ม
แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2564
ตัดตอนมาจาก เวทีวิชาการการนำเสนองานวิจัยและบทความ “จินตนาการสู่สังคมไทยเสมอหน้า” ข้อเสนอนโยบายการเข้าถึงสวัสดิการสังคม และ สุขภาวะ หัวข้อ “ประกันสังคมและกฎหมายแรงงาน” โดย รศ.ดร. ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2564
จากการที่ได้มีโอกาสศึกษาและทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจมาบ้างนั้น ผู้เขียนมักจะตั้งคำถามกับตัวเองเสมอว่า หากเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับการนำเสนอในปี ๒๔๗๖ ได้รับการยอมรับและถูกประกาศใช้ผ่านร่างกฎหมายที่สำคัญ ๒ ฉบับ ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ พุทธศักราช ๒๔๗๖ และร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร พุทธศักราช ๒๔๗๖ แล้วสังคมสยามในเวลานั้น และในเวลาต่อมาจะพึงมีรูปร่างหน้าตาเปลี่ยนแปลงไปเช่นไรบ้าง  
แนวคิด-ปรัชญา
28
เมษายน
2564
เวลาที่เราบอกถึงกระแสความเข้าใจ ความต้องการของรัฐสวัสดิการ มันจึงมีความเกี่ยวพันกับการนิยาม “ความเป็นคน” สิ่งหนึ่งที่ผมอยากย้ำ ในเวลาที่เราคุยกันเรื่องสวัสดิการ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า มันคือเรื่องการเมือง มันคือการต่อสู้ มันคือการยืนยันว่าคนเท่ากัน”
แนวคิด-ปรัชญา
27
เมษายน
2564
เพื่อที่การประกอบเศรษฐกิจจะได้ดำเนินไปโดยเรียบร้อยและได้ผลดี รัฐบาลก็จำต้องวางแผนเศรษฐกิจแห่งชาติ การวางแผนเศรษฐกิจแห่งชาตินี้จะต้องคำนวณและสืบสวนเป็นลำดับดั่งต่อไปนี้
แนวคิด-ปรัชญา
26
เมษายน
2564
นโยบายรัฐสวัสดิการแบบถ้วนหน้าครบวงจร ไม่ใช่นโยบายทางเศรษฐกิจเพียงลำพัง หากวางอยู่บนความเป็นประชาธิปไตยทางการเมืองและปรัชญามนุษย์นิยม การพัฒนานโยบายนี้ในประเทศไทยจึงไม่ใช่ข้อจำกัดทางเศรษฐกิจที่เป็นปัจจัยเครื่องมือเท่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
23
เมษายน
2564
“การที่จะส่งเสริมให้ราษฎรได้มีความสุขสมบูรณ์นั้น ก็มีอยู่ทางเดียว ซึ่งรัฐบาลจะต้องเป็นผู้จัดการเศรษฐกิจเสียเอง โดยแบ่งการเศรษฐกิจนั้นออกเป็นสหกรณ์ต่างๆ” โดยให้รัฐเป็นผู้วางแผน ส่วนสหกรณ์มีหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานและดำเนินการโดยสมาชิกในสหกรณ์นั้นๆ
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา