แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
มีนาคม
2564
ตลอดชีวิตของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ได้ทำมาตลอดชีวิตของท่าน คือการสร้างประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ให้กับชาติ “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” นั้น หมายถึง ทั้งเรื่องของการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
มีนาคม
2564
การสร้าง “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” ตามแนวคิดของอาจารย์ปรีดี จึงจำเป็นต้องมีการออกแบบโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองที่สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศทั้งในทางนิตินัยและพฤตินัย และคุณค่าของรัฐธรรมนูญนั้นจะต้องมุ่งสถาปนาความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
มีนาคม
2564
สมัยที่ท่านอาจารย์ปรีดีย้ายจากเมืองจีนไปฝรั่งเศสนั้น ท่านก็ได้รับการต้อนรับจากนักเรียนไทยหลายคนทีเดียว และนักเรียนไทยที่อยู่ในอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเยอรมันก็ตาม ต่างก็ได้ตั้งคำถามกับท่านว่า “ไทยเรามีโอกาส มีทางที่จะได้ประชาธิปไตยโดยสันติวิธีหรือไม่ ?”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
มีนาคม
2564
รัฐธรรมนูญเพื่อประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ | PRIDI TALKS 9 | อนุสรณ์ ธรรมใจ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2564
ก่อนการอภิวัฒน์สยามเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ย้อนกลับไปนับตั้งแต่ช่วงปลายอยุธยาจนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สิทธิที่จะใช้สอยทรัพย์สินที่อยู่ภายใต้สิทธิของกษัตริย์ โดยราษฎรได้รับอนุญาตให้ใช้ที่ดินในฐานะสิ่งตอบแทนที่เป็นแรงงานให้กับรัฐ ซึ่งกษัตริย์ยังสงวนอภิสิทธิ์และพระราชอำนาจที่จะจำหน่ายจ่ายโอนที่ดินให้กับคนในบังคับของพระองค์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2564
ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ 24 มิถุนายน 2475 นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในคณะผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองและเป็นผู้รับผิดชอบในด้านการเมืองซึ่งได้รับมอบหมายให้เป็นผู้เขียนคำแถลงการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองและร่างธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ได้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งนั้นว่า ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ เปลี่ยนจากระบอบที่กษัตริย์มีอำนาจอย่างล้นพ้นมาเป็นการจำกัดภายใต้รัฐธรรมนูญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2564
คำว่า Soft Power เราถูก Popularize ในวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และ ถูกใช้กับอำนาจทางวัฒนธรรมของสหรัฐ ในช่วงที่สงครามเย็นสิ้นสุดลง และพูดถึงเรื่องการศึกษาวัฒนธรรมดนตรี วัฒนธรรมหนังฮอลลีวูด ให้ความหมายในเชิงวัฒนธรรมค่อนข้างเป็นรูปธรรม