ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2563
เรารู้กันดีว่า มีโรคบางชนิดที่เป็นโรคระบาด โรคเหล่านี้ก็เช่นกาฬโรค หรือที่ดูเหมือนว่าเราเคยเชื่อกันมาผิด ๆ เช่นนั้นต่อโรคเรื้อนด้วย แต่เราคงไม่อาจปฏิเสธได้ว่า โรคติดต่อเหล่านี้ก็เป็นกฎทั่วไป และมนุษย์เรานี่เองต่างเป็นเหตุปัจจัยแก่กันและกันในการติดเชื้อและการเสียชีวิตมากมายเพียงใด เราอาจกล่าวได้ว่า หนึ่งในบรรดาผู้บุกเบิกความคิดสำนักภราดรภาพที่ยิ่งใหญ่ก็คือ [หลุยส์] ปาสเตอร์ เมื่อเขาแถลงต่อสาธารณชนว่า มีโรคจำนวนไม่น้อยเลย – ในอนาคตอาจกล่าวโดยปราศจากข้อสงสัยได้ว่า โรคทุกโรค นั่นเอง – ที่อาจส่งผ่านจากคนสู่คนได้ ชาร์ลส์ จี๊ด
แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2563
การอ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (อาจารย์ปรีดี พนมยงค์) เขียนขึ้นในปี พ.ศ. 2476 ต้องทำความเข้าใจบริบทของประเทศไทยในช่วงก่อนปี 2476 ที่มีปัญหาเศรษฐกิจ ชาวนาที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ มีความเป็นอยู่ลำบาก ไม่สามารถเข้าถึงที่ดิน เงินทุน เทคโนโลยี มีปัญหาชลประทานและถูกเก็บภาษีทีไม่เป็นธรรม ประกอบกับการค้าอยู่ในมือของต่างชาติ อาจารย์ปรีดีจึงเห็นว่าการที่จะได้มาซึ่งประชาธิปไตยต้องเริ่มจากการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและความยากจนของชาวชนบท  และในสมัยนั้นราษฎรยังคงอ่อนแอ แนวทางเดียวที่จะบำรุงความสุขสมบูรณ์ให้ราษฎรคือรัฐบาลจะต้องมีบทบาทในการจัดการเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
5
พฤษภาคม
2563
เหตุการณ์ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 การอภิวัฒน์ประชาธิปไตยเป็นเหตุการณ์สำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็น ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
แนวคิด-ปรัชญา
5
เมษายน
2563
ดังได้เสนอไว้ในบทความเรื่อง ภราดรภาพ (Solidarity) คืออะไร ว่าความคิดเรื่องภราดรภาพนิยมนี้มิใช่เป็นเพียงปรัชญา หรืออุดมการณ์ทางการเมืองหากเชื่อมโยงกับธรรมชาติของมนุษย์ที่มีข้อบ่งชี้ในทางชีววิทยาซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์แล้ว แนวคิดเรื่องภราดรภาพนิยมนี้ยังถือเป็นแนวคิดเชิงศีลธรรมที่ปรากฏในคำสอนของทุกศาสนาด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
3
เมษายน
2563
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เรื่อง   เมื่อกล่าวถึง ‘คณะราษฎร’ และการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ตัวละครหนึ่งที่ได้รับการกล่าวถึงมากที่สุดย่อมหนีไม่พ้น ‘ปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะตัวตั้งตัวตีในการอภิวัฒน์สยามสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทว่าบันทึกและหลักฐานต่างๆ ที่กล่าวอ้างถึงปรีดีและคณะราษฎรในระยะหลัง มักปรากฏในลักษณะของการบอกเล่า ตีความ วิเคราะห์ จากมุมของคนนอก เช่น นักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ เสียส่วนใหญ่ ขณะที่ข้อมูลชั้นต้นจำพวกบันทึกหรือข้อเขียนจากตัวละครต่างๆ ที่อยู่ในเหตุการณ์ กลับไม่แพร่หลายเท่าไหร่นัก
แนวคิด-ปรัชญา
1
เมษายน
2563
ข้อมูลจากหนังสือ “ภราดรภาพนิยม (Solidarisme) ของ ปรีดี พนมยงค์” โดย ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา