ข่าวสารและบทความ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
พฤศจิกายน
2563
นายปรีดี พนมยงค์ และคณะ ได้ออกเดินทางไปกระชับสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ถึง 9 แห่ง คือ จีน ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ค สวีเดน และนอร์เวย์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
พฤศจิกายน
2563
หลังลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489 แล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงแล้ว ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้เดินทางไปกับนายปรีดี ในคณะทูตสันถวไมตรี ที่เดินทางไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก เพื่อเจริญสัมพันธไมตรี และดำเนินการให้นานาชาติสนับสนุนให้ไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
31
ตุลาคม
2563
คนทั่วไปมักรู้จักงานประพันธ์ของนายปรีดี พนมยงค์ เพียงแต่ในส่วนของผลงานร้อยแก้ว นั่นคือ นวนิยายและบทภาพยนตร์เรื่อง "พระเจ้าช้างเผือก" รวมถึงบทความต่าง ๆ ทว่ายังมีงานประพันธ์ของปรีดีอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งไม่ค่อยมีใครเอ่ยถึงนัก ได้แก่ ผลงานร้อยกรองหรือบทกวี
บทความ • บทบาท-ผลงาน
30
ตุลาคม
2563
"ที่กล่าวมานี้ เพียงแต่แสดงความหวังให้ท่านถึงฟิวเจอร์หรืออนาคตของเราว่าไม่มืดมน พอมองเห็นแสงสว่าง" -- ปรีดี พนมยงค์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
29
ตุลาคม
2563
ภายหลังที่ได้ตรากตรํารับใช้ชาติบ้านเมืองในภารกิจอันมีความสําคัญยิ่งมาตลอดสงคราม เป็นเวลาถึง 4 ปี จนกระทั่งสันติภาพ ตลอดจนเอกราชและอธิปไตยของประเทศไทยได้กลับคืนมา ท่านรัฐบุรุษอาวุโสฯ มีความชอบธรรมที่จะพักผ่อนทั้งกายและใจ โดย “รับปรึกษากิจราชการแผ่นดิน” ตามที่ระบุไว้ในพระบรมราชโองการฯ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2488
การณ์มิได้ไปเป็นเช่นนั้น ความจริงปรากฏว่า ในระหว่างปี พ.ศ.2489-2490 ท่านปรีดี พนมยงค์ กลับต้องรับภารกิจที่หนักหน่วง และต้องเผชิญกับปัญหาทางการเมืองอย่างที่ไม่เคยประสบมาก่อนในอดีต
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
ตุลาคม
2563
ขอเชิญชวนคุณผู้อ่านทุกท่านร่วมเดินทางไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์เสรีไทยแพร่ ผ่านบทความของ อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
ตุลาคม
2563
ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอบทเรียนจากการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยในสมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยโดยคณะราษฎร ว่าสามารถนำเป็นแนวคิดสำหรับประเทศในปัจจุบันและอนาคตได้ 8 ข้อ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ตุลาคม
2563
ในวาระ 110 ปีแห่งการสวรรคตของรัชกาลที่ 5 ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ถอดบทเรียนการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัย จากยุคของรัชกาลที่ 5 มาจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
ตุลาคม
2563
ในรัชสมัยของรัชกาลที่ 6 มีการเก็บภาษีชนิดหนึ่งเพื่อใช้เป็นแหล่งรายได้ของรัฐ ซึ่งนับได้ว่ามีความพิเศษแตกต่าง แต่มีภาษีชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า 'เงินรัชชูปการ' มิได้มาจากฐานคิดแบบนั้น จึงทำให้เกิดข้อสงสัยว่า เงินดังกล่าวเก็บโดยอาศัยฐานใดมาคิด