ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทบาท-ผลงาน
9
ธันวาคม
2563
กลไกการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ในรัฐธรรมนูญอุดมคติของปรีดี สะท้อนผ่าน (1) การได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องมีความเป็นประชาธิปไตย (2) การแยกข้าราชการประจำออกจากฝ่ายการเมือง (3) นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ (4) การมีองค์กรตรวจสอบที่มีความเป็นอิสระและเป็นกลาง
บทบาท-ผลงาน
8
ธันวาคม
2563
บางส่วนจากข้อสังเกตของศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ถึงรัฐธรรมนููญในอุดมคติของปรีดี พนมยงค์ ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาค
แนวคิด-ปรัชญา
7
ธันวาคม
2563
เศรษฐกิจกับรัฐธรรมนูญสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในลักษณะที่ทั้งเป็นการรับรองสิทธิของประชาชนภายในรัฐในทางเศรษฐกิจ และกำหนดกรอบทิศทางระบบเศรษฐกิจของรัฐจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร
บทบาท-ผลงาน
6
ธันวาคม
2563
ปี 2475 เป็นปีที่มีความพยายามที่จะสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญขึ้นในเมืองไทยอย่างจริงจังเป็นครั้งแรก (หลังจากได้มีการพูดถึงเรื่องระบอบนี้มาเป็นระยะเวลานานถึง 3 รัชกาล ตั้งแต่รัชกาลที่ 5-6-7)
ชีวิต-ครอบครัว
5
ธันวาคม
2563
เธอเน้นหนักในการอบรมข้าพเจ้าและลูก ๆ ให้ยึดหลักสังคมที่เป็นธรรม คือ สังคมที่ปราศจากการเอารัดเอาเปรียบ เบียดเบียนซึ่งกันและกัน และในการศึกษาหาความรู้ทั่วไปต้องทำตนให้ปราศจากอุปาทานและกิเลส จึงจะสามารถรับเอาสิ่งที่เป็นสัจจะตามภาววิสัยและรูปธรรมที่ประจักษ์ได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2563
นับตั้งแต่การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 มาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมาแล้วทั้งสิ้น 20 ฉบับ
4
ธันวาคม
2563
ปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ กรรมการผู้จัดการ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ในฐานะตัวแทนครอบครัว พนมยงค์-ตามสกุลได้เข้ามอบทุนการศึกษาแก่นักเรียน โรงเรียนวังน้อย (พนมยงค์วิทยา) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 89 ทุน โดยได้มอบโอวาทแก่นักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษา ผู้มีความประพฤติดี และมีผลการเรียนที่ดี อันเป็นกำลังสำคัญต่อประเทศ
บทบาท-ผลงาน
4
ธันวาคม
2563
ซึ่งการประนีประนอมที่สำคัญ คือ การทำให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่คณะราษฎร โดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) กลายเป็นฉบับชั่วคราวไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ธันวาคม
2563
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' นำเสนอเรื่องเล่าและความประทับใจจากกิจกรรม PRIDI Walking Tour “เยือนถิ่นปรีดีที่อยุธยา”
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
ธันวาคม
2563
แม้เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นผู้ร่างปฐมรัฐธรรมนูญนี้ แต่หลายคนคงยังไม่ทราบว่า หลวงประดิษฐ์ฯ ใช้ให้ นายชุบ ศาลยาชีวิน เป็นผู้พิมพ์ดีดร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ขึ้นมา