ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

บทสัมภาษณ์
29
กุมภาพันธ์
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบ 129 ปีชาตกาล หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล ผู้เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้ผ่านเหตุการณ์สำคัญมากมาย ที่ทำให้ชีวิตต้องพลิกผลันและได้พบกับท่านปรีดี พนมยงค์ จนนำไปสู่การสร้างหอสมุดดำรงราชานุภาพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2567
ทองเปลว ชลภูมิ เป็นนักการเมืองที่มีอุดมการณ์ในประชาธิปไตยอย่างแรงกล้า และได้ต่อสู้เรื่อยมาในทางการเมือง จนกระทั่งต้องจบชีวิตจากการถูกสังหารโดยรัฐบาลฝ่ายเผด็จการ กับอีก 3 รัฐมนตรี แต่นาม "ทองเปลว" ยังคงถูกกล่าวถึงอยู่เสมอ
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2567
พรรคการเมืองฝ่ายค้าน เป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างมาก และขาดไม่ได้ เพราะการเมืองของบ้านเราในยุคนี้เต็มไปด้วยความเลอะเทอะ ความไม่สงบของบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นไปด้วยความไม่ราบรื่น
บทบาท-ผลงาน
24
มกราคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามนับตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม 2481 ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของอุตสาหกรรมแอลกอฮอล์ในสยาม โดยตั้งโรงงานกลั่นแอลกอฮอล์แบบทันสมัยแห่งแรกที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2567
เนื่องในวาระครบรอบ 119 ปี ชาตกาล 'ศาสตราจารย์ดิเรก ชัยนาม' จึงจะขอนำเสนอผลงานและแนวคิดสำคัญในแต่ละช่วงชีวิตดังต่อไปนี้ และไม่ค่อยมีการกล่าวถึงมาก่อน อาทิ ข้อเสนอระงับกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในรายงานการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 6 วันที่ 14 ตุลาคม พุทธศักราช 2489 บทบาทในการก่อตั้งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรก พ.ศ. 2492 และปาฐกถาพุทธศาสนากับการปกครอง พ.ศ. 2499
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ร้อยเรียงเรื่องราวขยายภาพความสัมพันธ์ของปาล พนมยงค์ที่มีต่อมิตรสหายอย่าง ‘เยื้อน พานิชวิทย์’ และ 'สัมผัส พึ่งประดิษฐ์' จากบันทึกทางประวัติศาสตร์และบทสัมภาษณ์กับสัมผัส พึ่งประดิษฐ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2566
กล่าวขานถึงขบวนการเสรีไทยสายแพร่ ผู้มีบทบาทสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์เอกราชของไทย แต่มิได้ถูกจดจำและบันทึกไว้อย่างแพร่หลายนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2566
เรื่องราวอัตชีวประวัติของท่านเมื่อครั้นท่านยังเยาว์วัย บุคลิก นิสัย และวีรกรรมเมื่อสมัยเป็นนักเรียนอังกฤษ ก่อนที่ท่านจะรับการชักชวนเป็นสมาชิกคณะราษฎร ร่วมปฏิบัติภารกิจกู้ชาติในฐานะสมาชิกเสรีไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 แม้จะเป็นเพียง 17 วัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2566
ดร.โภคิน พลกุล และ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต กล่าวถึงการรัฐประหาร 2490 อันเป็นจุดเปลี่ยนทางการเมืองครั้งสำคัญของไทย ส่งผลให้ท่านปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยออกนอกประเทศไปอย่างถาวร เพื่อใหัควรมกระจ่างแก่สังคมในประเด็นต่อไปนี้
บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม