บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • บทบาท-ผลงาน
7
พฤษภาคม
2563
ขบวนการเสรีไทยเกิดจากการรวมตัวของคนไทยทุกชนชั้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีความมุ่งหมายในการต่อสู้เพื่อเอกราช อธิปไตยและสันติภาพของประเทศ ผู้ที่เข้าร่วมขบวนการทุกท่านต้องถือว่า มีความเสียสละและความกล้าหาญอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ได้เข้ามาปฏิบัติการในประเทศไทยภายใต้การยึดครองของกองทัพญี่ปุ่น
“ขอให้เราอย่านึกถึงตัวตนของบุคคล
ซึ่งย่อมร่วงโรยไปตามกาลเวลา
แต่ขอให้นึกถึงงานอมตะของเขา
บุคคลอาจจะแตกต่างด้วยกำเนิด
ด้วยฐานะและการศึกษา
แต่การเสียสละเป็นยอดแห่งคุณธรรม
ที่ยกให้มนุษย์อยู่ในระดับเดียวกัน”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
พฤษภาคม
2563
เหตุการณ์ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 การอภิวัฒน์ประชาธิปไตยเป็นเหตุการณ์สำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็น ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2563
เนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ ๗๘ แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยหอจดหมายเหตุและหอประวัติศาสตร์เกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดพิมพ์เอกสารอันทรงคุณค่าเล่มหนึ่งขึ้นเพื่อการนี้ กล่าวคือ หนังสือ “๗๘ ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ.๒๔๗๗-๒๕๕๕) มองธรรมศาสตร์ผ่านเอกสารจดหมายเหตุ”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤษภาคม
2563
ปรีดี พนมยงค์ ได้ถึงแก่มรณกรรม เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ด้วยอาการหัวใจวาย ที่บ้านพักชานกรุงปารีส ขณะมีอายุ 83 ปี
สำนักข่าว เอ.พี. ได้เผยแพร่ข่าวไปทั่วโลก พิธีฌาปนกิจของนายปรีดี มีขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2526 ที่ฌาปนสถาน แปร์ ลาแชส หรีดเคารพศพถูกส่งมาจากกลุ่มนักเรียนไทยในกรุงปารีส เยอรมัน อังกฤษ และจากรัฐบาลฝรั่งเศส แต่ไม่ปรากฎหรีดจากรัฐบาลไทย
หลังข่าวมรณกรรมของนายปรีดี พนมยงค์ ได้เผยแพร่ออกไป บุคคลต่าง ๆ ในเมืองไทย มีทรรศนะเช่นไรบ้าง เราได้รวบรวมไว้ให้ผู้อ่านได้พิจารณา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤษภาคม
2563
ปารีส เช้าวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 นายปรีดี พนมยงค์ ตื่นขึ้นแต่เช้าเพื่อทำกิจวัตรประจำวัน เขามักจะตื่นเช้าเสมอ เพื่อตระเตรียมงานเขียนที่คั่งค้างไว้ แม้วัยจะร่วงโรยในวัย 83 ปี
สถานีวิทยุบีบีซี รายงานข่าวเหตุการณ์ของโลกและความเป็นไป ชาร้อนควันยังกรุ่นบนโต๊ะทำงาน กระดาษสีขาวกำลังรอการจรดหมึกเพื่อเป็นตัวหนังสือประวัติศาสตร์ ส่วนท่านผู้หญิงฯ กำลังตระเตรียมงานภายในบ้าน
11.00 น. โต๊ะทำงานถูกปลุก ด้วยอาการไหวเอน เขาค่อย ๆ ลุกขึ้นถอดแว่น ขยี้ตา กล่าวถ้อยคำออกมาจับใจความไม่ได้ แล้วกลับทรุดนั่งลงอย่างเดิมด้วยอาการสั่นไหว
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤษภาคม
2563
ปรีดี พนมยงค์ ได้ถึงแก่มรณกรรม เมื่อเวลา 11.45 น. ของวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ด้วยอาการหัวใจวาย ที่บ้านพักชานกรุงปารีส ขณะมีอายุ 83 ปี ซึ่งในอีกไม่กี่วันก็จะถึงวันครบรอบวันเกิดของเขา คือ วันที่ 11 พฤษภาคม
เกี่ยวกับมรณกรรมของปรีดี ทางสำนักข่าว เอ.พี. ได้เผยแพร่ข่าวไปทั่วโลก และสำนักข่าวต่าง ๆ ได้รายงานว่า ในตอนเช้าก่อนมรณกรรม นายปรีดี ยังมีสุขภาพแข็งแรง ยังแต่งหนังสือ และทำกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ อยู่ จนเวลาดังกล่าวรู้สึกไม่สบายขึ้น และมรณกรรมอย่างสงบ ท่ามกลางการปฐมพยาบาลของท่านผู้หญิงพูนศุขฯ และญาติ ๆ อย่างเต็มที่ แต่ก็ไม่สามารถช่วยเหลืออะไรได้ เพราะนายปรีดีได้สิ้นใจเสียแล้ว
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
เมษายน
2563
ในอดีต มาตรการหนึ่งที่รัฐเคยใช้ในการหาเงินทุนมาแล้วหลายครั้ง ก็คือการออกพันธบัตรให้คนมากู้เงินในราคาถูก เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนช่วยชาติในยามคับขัน ถือเป็นความร่วมมือร่วมใจช่วยเหลือกันของรัฐและประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
เมษายน
2563
ดังได้เสนอไว้ในบทความเรื่อง ภราดรภาพ (Solidarity) คืออะไร ว่าความคิดเรื่องภราดรภาพนิยมนี้มิใช่เป็นเพียงปรัชญา หรืออุดมการณ์ทางการเมืองหากเชื่อมโยงกับธรรมชาติของมนุษย์ที่มีข้อบ่งชี้ในทางชีววิทยาซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์แล้ว แนวคิดเรื่องภราดรภาพนิยมนี้ยังถือเป็นแนวคิดเชิงศีลธรรมที่ปรากฏในคำสอนของทุกศาสนาด้วย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
4
เมษายน
2563
ทีมงานเว็บไซต์ปรีดี-พูนศุข พนมยงค์ เรื่อง
การปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475 เป็นปฏิบัติการลับของบรรดานายทหารและพลเรือนกลุ่มหนึ่ง ทั้งหมดเป็นความลับที่มิอาจแพร่งพรายให้ผู้อื่นรับรู้ แม้แต่คนในครอบครัว เมื่อถึงวันปฏิบัติการจริง สมาชิกคณะราษฎรแต่ละคนจึงมีวิธี “เลี่ยง” พูดความจริงต่อสมาชิกในครอบครัวแตกต่างกันไป
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to บทความ
3
เมษายน
2563
ข้อมูลจากการเสวนา ปรีดีศึกษา ครั้งที่ ๒ “โมฆสงคราม งานนิพนธ์ที่ค้นพบล่าสุดของปรีดี พนมยงค์” ในหนังสือ “ปรีดีศึกษา และปาฐกถาศิลปกับสังคม”
เชื่อว่าเราหลายคนคงเคยเห็นท่อดับเพลิงสองหัว ซึ่งบางคนจะทราบว่า มันมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ (และเข้าใจว่าอีกหลายภาษา เพราะภาษาฝรั่งเศสก็เรียกเช่นนี้ด้วย) ว่า “Siamese Connection”