บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • บทบาท-ผลงาน
22
สิงหาคม
2563
ปากคำประวัติศาสตร์จากนายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าขบวนการเสรีไทย เล่าเบื้องหลังการประกาศสันติภาพ เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2488 หรือเมื่อ 75 ปีก่อน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2563
"ทหารชั่วคราว" อย่างนายป๋วย อึ๊งภากรณ์ เขียนเล่าเรื่องความทรงจำเมื่อครั้งเป็นเสรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ
'ท่านชิ้น' ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ได้อย่างน่าสนใจ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
สิงหาคม
2563
ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน เสรีไทยสายอังกฤษคนสำคัญ กล่าวถึงหลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือนายปรีดี พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
สิงหาคม
2563
อ่านเรื่องราวชีวิตของขุนพลภูพาน 'เตียง ศิริขันธ์' ได้จากข้อเขียนจาก 'นิวาศน์ ศิริขันธ์' ภรรยาของเขา ในบทความนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
สิงหาคม
2563
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ปัญหาการขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภคเป็นปัญหาสำคัญที่กระทบต่อชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก สินค้าบางอย่างที่ในปัจจุบันไม่ได้หายากอย่างเช่น ผ้าห่ม และเสื้อผ้า กลับมีค่า มีราคา และมีความสำคัญเป็นอย่างมาก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2563
“ถ้าปราศจากจํากัด พลางกูร งานขององค์กรใต้ดินครั้งนี้อาจจะล้มเหลว หรือหากสําเร็จ ก็คงเป็นไปในรูปที่ผิดแผกกว่าที่ได้ปรากฏแก่ตาโลกภายหลัง”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2563
อาจารย์เออิจิ มูราชิมา นักประวัติศาสตร์ชื่อดังชาวญี่ปุ่น เปิดเผยข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจว่า ในตอนที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกานั้น ฝ่ายญี่ปุ่นค่อนข้างตกใจ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
สิงหาคม
2563
สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อใด? ประเทศไทยเกี่ยวข้องอย่างไร? และมีสถานะใดในสงคราม? หาคำตอบได้จากแผนภาพอินโฟกราฟิกนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
สิงหาคม
2563
บทสนทนากับอาจารย์พรรณีในครั้งนี้ ช่วยให้เรามีโอกาสทบทวนถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลของจักรวรรดิญี่ปุ่นเหนือประเทศไทยในมิติอื่นที่นอกเหนือไปจากเรื่องศึกสงคราม และเกมการเมือง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to บทความ
12
สิงหาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดีฯ เคยอธิบายไว้ว่า ทำไมเพื่อนนักเรียนในฝรั่งเศส ทั้งที่เป็นผู้ร่วมก่อการและไม่ใช่ผู้ร่วมก่อการ จึงเรียกตนเองว่า "อาจารย์" เพื่อโต้แย้งคำอธิบายของนายควง อภัยวงศ์ เพื่อนร่วมก่อการอีกคนหนึ่งซึ่งได้เข้าร่วมคณะราษฎรก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่นานนัก