บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กรกฎาคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ ลี้ภัยการเมืองในประเทศจีนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 ถึง 2513 ท่านพำนักอยู่ที่ปักกิ่งและต่อมาย้ายไปกวางโจว โดยได้รับดูแลและให้สิทธิพิเศษจากทางการจีนในฐานะแขกผู้มีเกียรติ ตลอดเวลาในจีน ท่านอุทิศตนเพื่อฟื้นฟูมิตรภาพไทย-จีน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กรกฎาคม
2568
จากบันทึกของ นายจรูญ สืบแสง สมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน คนสำคัญ กับรายละเอียดก่อนวันการอภิวัฒน์กับเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองสยาม เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2568
จากเวที #PRIDI Talks 31 กับการตอบคำถาม เสนอข้อคิดเห็นและมุมม เพื่อถอดบทเรียนกับความ “เอกราษฎร์” กองทัพกับประชาธิปไตย และปัญหาชายแดนไทย-กัมพูชา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2568
“เอกราช” และ “อธิปไตย” เป็นคำที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองและการต่อสู้เชิงอุดมการณ์ สะท้อนพลวัตของชนชั้นและอำนาจนับตั้งแต่ 2475 โดยเฉพาะในกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญที่ยังไม่อาจสถาปนา “อำนาจของราษฎร” ได้อย่างแท้จริง.
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
30
มิถุนายน
2568
ผู้เขียนได้เปรียบเทียบ ตัวละคร ในละครเวทีสองเรื่องสำคัญ “แดง ไบเล่” จาก อันธพาล 2499 The Musical กับ “นางจิญจมาณวิกา” จากพุทธประวัติ เพื่อชี้ให้เห็นถึงมุมมองจากสังคมที่มองเพียงภาพลักษณ์ภายนอก
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2568
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี วิจารณ์การผูกขาดนิยาม “ชาติ” และ “เอกราช” โดยรัฐราชการและกองทัพไทย ซึ่งมักยึดโยงกับ “แผ่นดิน” มากกว่าประชาชน ส่งผลให้กองทัพมีอำนาจในการกำหนดนโยบายด้านความมั่นคงและชายแดน แทนที่รัฐบาลพลเรือนจะควบคุมได้อย่างแท้จริง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มิถุนายน
2568
ศ.วิจิตร ลุลิตานนท์ เน้นทำภารกิจบริหารและประสานงานขบวนการเสรีไทยภายในประเทศ เพื่อธำรงเอกราชและอธิปไตยในสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาทำหน้าที่เลขาธิการกองบัญชาการเสรีไทย ดูแลค่ายกักกันสัมพันธมิตร ส่งคนฝึกการรบ และประสานงานกับฝ่ายสัมพันธมิตร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มิถุนายน
2568
เรื่องราวของ “พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)” หนึ่งในทหารผู้ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 นำเสนอชีวิตในหลายบทบาทผ่าน หนังสือเก่าและบันทึกสำคัญ โดยเฉพาะแผนการปฏิวัติ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
28
มิถุนายน
2568
พรรณิการ์ วานิช อธิบายว่า "เอกราษฎร์" คืออำนาจของประชาชน พร้อมเสนอแนวคิด "ชาตินิยมพลเมือง" ที่รักชาติบนพื้นฐานของความหลากหลายโดยไม่เกลียดชาติอื่น เธอชี้ว่าชนชั้นนำใช้วาทกรรมรักชาติเบี่ยงเบนปัญหาการบ่อนทำลายเอกราษฎร์ และเชื่อว่าหากประชาชนเข้าใจปัญหานี้ จะนำไปสู่รัฐบาลที่สามารถพิทักษ์เอกราษฎร์ได้อย่างแท้จริง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บทความ
26
มิถุนายน
2568
ประชาธิปไตยตามเจตนารมณ์คณะราษฎร คือ การที่อำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนทุกกลุ่ม ไม่ใช่เพียงชนชั้นนำ พร้อมวิพากษ์แนวคิดชาตินิยมที่เน้นผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มว่าเป็นต้นเหตุความขัดแย้งและสงคราม