มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' เคยกล่าวคำปราศรัยต่อธรรมศาสตร์บัณฑิตและและเนติบัณฑิต นักสันติภาพ เมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2514 ณ ชานกรุงปารีส โดยมีใจความถึงเรื่องราวที่พึงระลึกอันเป็นความหลังเมื่อครั้งที่บัณฑิตทั้งหลายได้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
สิงหาคม
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' เขียนบทความนี้ขึ้นหลังจากที่ได้ติดตามข่าวของ MUT 2565 ที่ปรากฏตามสื่อต่างๆ ถึงเรื่องราวชีวิตครอบครัวที่บิดาและมารดาเป็นพนักงานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ กอปรกับเพิ่งผ่านพ้นช่วงวันสันติภาพไทย ทำให้ผู้เขียนพลันนึกถึงสมาชิกขบวนการเสรีไทยท่านหนึ่ง ผู้ซึ่งมีอาชีพปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานแผนกรักษาความสะอาดของเทศบาลนครกรุงเทพเช่นกัน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
สิงหาคม
2565
ฐานคิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ว่าด้วยการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ คือ "ความเป็นกลาง" อันเป็นฐานคิดซึ่งอยู่ภายใต้กรอบหลักการสำคัญ คือ "แนวคิดสันติภาพ" โดยทัศนะดังกล่าวแสดงออกผ่านบทสัมภาษณ์ซึ่งเป็นการสนทนาระหว่างนายปรีดีกับสำนักข่าวไทยและต่างประเทศ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
สิงหาคม
2565
เรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย ผ่านการทำงานที่เต็มไปด้วยความยากลำบากและความท้าทายในทุกๆ สมรภูมิ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2565
ภายหลังที่ชาติไทยถูกรุกล้ำอธิปไตยโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น หนึ่งในข้อตกลงที่เกิดขึ้นระหว่างชาติผู้รุกรานและรัฐบาลในขณะนั้น คือการใช้พื้นที่ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองให้เป็นพื้นที่สำหรับกักกันพลเมืองจากประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
28
มิถุนายน
2565
ณ ที่นี้จะกล่าวถึงการตั้ง “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” สถาบันอุดมศึกษา อันสร้างคน นักประชาธิปไตย นักปกครอง นักการเมือง อันเป็นกำลังของชาติให้แก่ประเทศไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
ในประกาศคณะราษฎร ลงวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 มีหลัก 6 ประการ ที่คณะราษฎรวางไว้ให้เป็นหัวใจของการดำเนินนโยบายภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อบำรุงชีวิตของราษฎรให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหลักข้อ 6. คือ “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
10
มิถุนายน
2565
เมื่อมีอายุ 11 ปีในพุทธศักราช 2454 ข้าพเจ้าสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและน่าแปลกใจอย่างยิ่งในวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลและในหมู่ลูกหลานของพวกเขา ซึ่งมีอยู่ราวร้อยละ 25 ของราษฎรทั้งหมดในประเทศสยาม กล่าวคือ ผู้ชายแทบทุกคนได้ตัดผมหางเปียของเขาออก ทั้งๆ ที่เป็นทรงผมที่พวกเขาไว้กันมานานหลายศตวรรษแล้ว พวกเขาอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ให้ราษฎรชาวสยามฟังว่า ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณซึ่งบังคับให้พวกเขาไว้หางเปียอันน่าอับอายเช่นนี้ได้ถูกโค่นล้มแล้ว ด้วยการอภิวัฒน์ของฝ่ายสาธารณรัฐนำโดย ดร.ซุนยัดเซ็น ซึ่งในเวลานั้นได้เรียกร้องให้ชาวจีนทุกคนไว้ผมสั้นเช่นชาวยุโรป (ในสมัยนั้น)