ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง

บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2563
หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ปรีดียังดำเนินการอีกหลายประการเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการที่ได้ประกาศไว้
บทบาท-ผลงาน
18
พฤศจิกายน
2563
หากจะกล่าวว่า ท่านปรีดีผู้วางรากฐานการศึกษากฎหมายปกครองและการจัดตั้งศาลปกครองของไทย ก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤศจิกายน
2563
“อย่ายิง! ที่นี่มีแต่ผู้หญิงกับเด็ก” คือ ประโยคที่ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ตะโกนร้องสวนเสียงปืนกลจากรถถังที่มายิงทำเนียบท่าช้าง กลางดึกวันที่ 7 ต่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490
บทบาท-ผลงาน
25
กันยายน
2563
25 กันยายน 2488 ภายหลังการสวนสนามของพลพรรคเสรีไทย ได้มีงานสโมสรที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ซึ่งนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะหัวหน้าขบวนการเสรีไทย ได้กล่าวสุนทรพจน์สำคัญชิ้นหนึ่งถึงการปฏิบัติงานของเสรีไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
กันยายน
2563
อ่านบทกลอนของ ส. ศิวรักษ์ ที่เขียนถึงปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
15
กันยายน
2563
ในเดือนสิงหาคม 2527 #สายฟ้า หรือ #นายผี อัศนี พลจันทร ได้เขียนบทความรำลึกการจากไปของนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งนับได้ว่าเป็นงานเขียนชิ้นสุดท้ายของเขา สะท้อนความทรงจำของธรรมศาสตร์บัณฑิตผู้นี้ที่มีต่อผู้ประศาสน์การได้เป็นอย่างดี
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2563
ในบทความนี้ สุโข สุวรรณศิริ นำเสนอวิสัยทัศน์ 6 ด้านของนายปรีดี พนมยงค์ คือ ในการสร้างประชาธิปไตย ในทางเศรษฐกิจ ในด้านการศึกษา ในด้านธรรมะ ในเรื่องการคุ้มครองสิทธิของพลเมืองพลเมือง และในด้านการต่างประเทศและสันติภาพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2563
"จารุบุตร เรืองสุวรรณ" เล่าเรื่อง "นิทานเสรีไทย" กล่าวถึงเบื้องหลังการทำงานเสรีไทยของนายปรีดี พนมยงค์ จากตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การติดต่อกับเสรีไทยในต่างประเทศ การติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร ไปจนถึงการเจรจาสถานะของประเทศไทยหลังสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 นายปรีดีในฐานะผู้นําคนหนึ่งของคณะราษฎรได้พยายามผลักดันให้หลัก 6 ประการของคณะราษฎรเป็นจริง มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ตามเจตนารมณ์หนึ่งในหลัก 6 ประการ ดังกล่าว คือ การที่จะให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
ในบรรดาเสรีไทยสายอังกฤษที่เป็นทหาร นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้รับยกย่องทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการให้เป็นระดับหัวหน้าหรือระดับผู้นำคนหนึ่งของนักเรียนอังกฤษ ที่สมัครเข้าเป็นทหารในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 และนอกจาก พ.ต. เสนาะ นิลกำแหง (เนติบัณฑิตไทยปี 2470) ผู้มีโอวุโสแล้ว “ป๋วย อึ๊งภากรณ์” เป็นผู้เดียวที่ได้รับยศพันตรีแห่งกองทัพบกอังกฤษ
Subscribe to มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง