มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
ในบรรดาเสรีไทยสายอังกฤษที่เป็นทหาร นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้รับยกย่องทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการให้เป็นระดับหัวหน้าหรือระดับผู้นำคนหนึ่งของนักเรียนอังกฤษ ที่สมัครเข้าเป็นทหารในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 และนอกจาก พ.ต. เสนาะ นิลกำแหง (เนติบัณฑิตไทยปี 2470) ผู้มีโอวุโสแล้ว “ป๋วย อึ๊งภากรณ์” เป็นผู้เดียวที่ได้รับยศพันตรีแห่งกองทัพบกอังกฤษ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
กรกฎาคม
2563
คือวิญญาณเสรี
ชื่อ “ปรีดี พนมยงค์”
คือดาวที่ดํารง
อยู่คู่ฟ้าสถาวร
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
25
กรกฎาคม
2563
ลมเอยช่วยพัดสายธาร
พาเอาอังคาร
กระจายความคิดอ่านกว้างไกล
ลอยไปโอบเอื้อเพื่อไทย
เกิดคลื่นลูกใหม่
เกิดความคิด กล้าทํา
ให้กล้าเปลี่ยนแปลงกล้านํา
กล้าสู้อธรรม
เฉกเช่นบรรพบุรุษไทย
ขอท่านคุ้มครองป้องภัย
ให้ลูกหลานไทย
ก้าวเดินจําเริญรอยตาม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2563
นายธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร เล่าความทรงจำถึงนายปรีดี พนมยงค์ ว่าด้วยทัศนะทางการศึกษา เมื่อดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
กรกฎาคม
2563
“สังคมก็จะดํารงอยู่ได้ก็ด้วยมวลราษฎร ดังนั้นเอง ระบบสังคมที่จะทําให้มวลราษฎรมีพลังผลักดันให้สังคมก้าวหน้า ก็คือ ระบบประชาธิปไตย… คือ หมายถึงระบบที่ประชาชนหรือมวลราษฎรมีอธิปไตย...” -- ปรีดี พนมยงค์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
9
กรกฎาคม
2563
หลายคนคงไม่เคยรู้ว่า แท่นพิมพ์ที่ใช้พิมพ์ประกาศคณะราษฎร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 นั้น ในเวลาต่อมาจะตกเป็นสมบัติของโรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ใช้พิมพ์ตำราเรียนและหนังสือต่าง ๆ จนเมื่อปลดระวางแล้ว ก็ยังถูกเก็บรักษาไว้ ดังในปัจจุบันจัดแสดง ณ ตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม เวียนมาบรรจบ ผมในฐานะศิษย์เก่า มธ. ของท่านรัฐบุรุษปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอจารึกความรู้สึกไว้ว่า ท่านรัฐบุรุษอาวุโสไม่ได้จากไปไหน เพียงแต่อัฐิธาตุของท่านได้ลอยจากไปท่ามกลางทะเลใสสะอาด แต่ผลงานของท่านยังคงอยู่ และผมระลึกอยู่เสมอว่า ฯพณฯ ปรีดี ได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิดขึ้นแห่งแรกในประเทศไทย คือ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ผมกล้าพูดได้ว่า ไม่มีท่าน ไม่มีธรรมศาสตร์ ไม่มีธรรมศาสตร์ ก็ไม่มีพวกเราทุกคน
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
28
มิถุนายน
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
จักคงคู่ยุคอยู่ทุกสมัย
คู่นามปรีดีปรีติชัย
ปิ่นประชาธิปไตยไผทนิรันดร์
คือมือประคับป้องประคองมือ
ถือธงนำทางร่วมสร้างสรรค์
ร่วมชีพร่วมประชาร่วมประชัน
ศักดิ์สามัญแห่งมหาประชาชน
ร่วมทุกข์ร่วมสุขร่วมเสียสละ
สมถะ สันโดษ สำแดงหน
คัลลองแห่งผู้ตัด อัตตาตน
เป็นเยี่ยงอย่างให้ยลอยู่ทุกยาม
โอวาทสุดท้ายที่ธรรมศาสตร์
ดังประกาศ ฝากไว้ในสยาม
“นักศึกษาธรรมศาสตร์ ทุกทุกนาม
จงมีความสำนึกอยู่เป็นนิตย์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
27
มิถุนายน
2563
ในวาระ 86 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอร่วมรำลึกถึงโอกาสพิเศษนี้ผ่านบทความของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (2)" ซึ่งเป็นตอนจบ ที่กล่าวถึงการบริหาร หลักสูตร การเรียนการสอนในยุคที่นายปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ รวมถึงสิ่งที่เรียกว่า ชีวิตและวิญญาณของธรรมศาสตร์ในยุคนั้น