ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง

เกร็ดประวัติศาสตร์
29
พฤศจิกายน
2567
ศักดิชัย บำรุงพงศ์ ในนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ แสดงปาฐกถาเรื่องการประพันธ์กับสังคมที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในวันที่ 31 มีนาคม 2495 โดยกล่าวถึงความหมาย ของศิลปวรรณคดี และความรู้สึกนึกคิด (Ideology) ของวรรณกรรม เป็นหลัก
วันนี้ในอดีต
15
กันยายน
2567
ชีวประวัติย่อ และผลงานสำคัญของอัศนี พลจันทร โดยเฉพาะผลงานและความเกี่ยวข้องกับนายปรีดี พนมยงค์ เนื่องในวาระ 106 ปี ชาตกาลของอัศนี ในวันที่ 15 กันยายน 2561
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2567
มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นยุคของการเปลี่ยนผ่านโดยหลังการรัฐประหาร 2490 มีการกำจัดเครือข่ายของคณะราษฎรสายพลเรือนและฝ่ายนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งการทำลายธรรมศาสตร์เป็นส่วนสำคัญในการลบเครือข่ายฯ ของนายปรีดี
แนวคิด-ปรัชญา
14
สิงหาคม
2567
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เล่าประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยนับตั้งแต่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 จนถึงเหตุการณ์ที่นักศึกษาเคลื่อนไหวเกี่ยวกับขบวนการสันติภาพหรือต่อมาคือกบฏสันติภาพในปี 2495 มาจนถึงเหตุการ 6 ตุลา 2519 และชี้ว่าตนได้รับการสืบต่อแนวคิดประชาธิปไตยมาจากนายปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เขียนถึงที่มา สาเหตุ และบริบาทของการเมืองไทยยุคสงครามอินโดจีน-ฝรั่งเศส โดยบันทึกประวัติศาสตร์ถึงนโยบายของรัฐบาล การเมืองระหว่างประเทศในขณะนั้น และกระบวนทัศน์ของตนเองต่อกรณีเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
กรกฎาคม
2567
ชีวประวัติย่อและบทบาทของคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ผู้เป็นเนติบัณฑิตหญิงคนแรกของประเทศไทย เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง และอุปนายกคนแรกของสมาคมสตรีไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 และเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการผลักดันมาตรา 28 ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ว่า “หญิงและชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน”
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
กรกฎาคม
2567
ในทศวรรษ 2480 มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง มีความเกี่ยวข้องกับการเมืองไทยในระยะพลิกผันที่สำคัญคือ เป็นฐานที่มั่นของขบวนการเสรีไทย และเป็นที่ฝึกของเสรีไทยในธรรมศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
9
กรกฎาคม
2567
ตึกโดมเป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นสัญลักษณ์สำคัญของมหาวิทยาลัยโดยมีการสันนิษฐานว่าหลักการในการออกแบบมาจากหลัก 6 ประการ และสะท้อนรูปแบบของศิลปะสมัยคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2567
บทความนี้เสนอนโยบายการจัดการศึกษาหลังการอภิวัฒน์ 2475 ตามหลัก 6 ประการในข้อ 6. “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร” ส่งผลให้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้นและในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 ได้มีการแต่งตั้งศาสตราจารย์วิสามัญฯ ขึ้นซึ่งสะท้อนนัยการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
27
มิถุนายน
2567
การก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองเมื่อปี 2477 โดยนายปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎณ เป็นสถาบันอุดมศึกษา อันสร้างคน นักประชาธิปไตย นักปกครอง นักการเมือง อันเป็นกำลังของชาติให้แก่ประเทศไทย
Subscribe to มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง