ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง

เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มีนาคม
2566
เกร็ดประวัติศาสตร์ของความพยายามในการส่งเสริมให้ราษฎรไทยสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาได้อย่างเสมอภาค ผ่านมุมมองการก่อตั้ง "นิคมนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" อันเป็นสถานที่ที่สะท้อนถึงความก้าวหน้าของความเป็นสมัยใหม่ซึ่งเต็มไปด้วยความผูกพันของนิสิตนักศึกษาในช่วงเวลาดังกล่าว
บทสัมภาษณ์
23
มีนาคม
2566
ศ.พิเศษ หิรัญ รดีศรี ศิษย์ ต.ม.ธ.ก. รุ่นที่ 8 ร่วมพูดคุยถึงวันวานและย้อนความทรงจำในรั้ว ต.ม.ธ.ก. เนื่องในวาระ 86 ปี การก่อตั้ง ต.ม.ธ.ก. 23 มีนาคม 2480
ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
มีนาคม
2566
"สติระลึกชอบในปัฏฐาน สมาธิเจริญญาณทั้งสี่วาง มีพานรัฐธรรมนูญอยู่กลาง เอกลักษณ์วางตั้ง ต.ม.ธ.ก."
บทบาท-ผลงาน
20
มีนาคม
2566
อ่านความคิดด้านเศรษฐกิจของ "นายปรีดี พนมยงค์" ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์และอัตชีวประวัติ ได้แก่ คำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจ, รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร และรายงานการประชุมกรรมานุการพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจ
ชีวิต-ครอบครัว
19
มกราคม
2566
ความเป็นมาของเพลง "คนดีมีค่า" และ "แม่จ๋า" รวมไปถึงบทบาททางสังคมและบทบาทในฐานะแม่ของ 'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' และ 'คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร' อีกทั้งความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างสองครอบครัวซึ่งเป็นความผูกพันที่เอื้ออาทรต่อกัน ตลอดจนบทเรียนที่ได้ทิ้งไว้ให้แก่คนรุ่นหลังผ่านฉากและชีวิตของสตรีทั้งสอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศาตราจารย์ดิเรก ชัยนาม เนื่องในวาระ 118 ปี ชาตกาล 18 มกราคม 2566 โดยกล่าวถึงชีวประวัติย่อและการทำงาน รวมไปถึงบทบาททางการเมืองเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 และการดำเนินงานในกิจการเสรีไทย
แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน กล่าวถึงความไม่เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ซึ่งเกิดขึ้นนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นของกระบวนการยุติธรรมไทยในอดีต เปรียบเสมือนติดกระดุมผิดเม็ด จนกรุยทางไปสู่ความป่วยไข้ของรัฐธรรมนูญที่ส่งผลต่อทัศนคติในหมู่นักกฎหมายและประชาชน
บทบาท-ผลงาน
10
พฤศจิกายน
2565
คดีกบฏที่หนังสือพิมพ์เรียกกันว่า “กบฏ 10 พฤศจิกา” ซึ่งเปนเรื่องครึกโครมตั้งแต่วันจับกุมจนถึงวันนี้นั้น ภายหลังที่ผู้ต้องหาได้เปิดเผยความจริงบางประการของกระบวนการสอบสวนขึ้นที่ศาลแล้ว ประชาชนที่ไปฟังคำแถลง และได้อ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ที่พากันขนานนามกบฏชุดนี้ว่า กบฏสันติภาพบ้าง, กบฏปอลิโอบ้าง, กบฏแฟนซีบ้าง, กบฏสงเคราะห์ประชาชนบ้าง, กบฏเสรีภาพบ้าง, กบฏหนังสือพิมพ์บ้าง รวมทั้งกบฏอิสานสัมพันธ์ เมื่อตำรวจได้จับกุมนักศึกษา ม.ธ.ก. รุ่นเยาว์อีกชุดหนึ่งที่ร่วมกันจัดงานรื่นเริงนักศึกษาชาวอิสานและได้ออกหนังสืออิสานสัมพันธ์มาคุมขังไว้
บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2565
แท้จริงแล้ว ความคิดที่จะสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยมิได้เพิ่งจะมาเริ่มในสมัย จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งอธิการบดี แต่หากเคยมีความคิดที่จะจัดสร้างมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในยุคที่ นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
ตุลาคม
2565
ฯลฯ ถ้าขาดโดม.....เจ้าพระยา.....ท่าพระจันทร์.....ก็ขาดสัญญลักษณ์[1]พิทักษ์ธรรม (บทกลอนของ เปลื้อง วรรณศรี สนับสนุนนักศึกษา มธก. คัดค้านอำนาจเผด็จการ หลัง 8 พ.ย. 2490) “โดม” คือท่านปรีดี พนมยงค์ สูงส่ง, ฉลาด, ชาญ, หาญกล้า ท่านอุทิศทุกอย่างตลอดมา เพื่อชาติเพื่อประชาชาวไทย. ลูก (คุณปาล) เมีย (ท่านผู้หญิงพูนศุข) ติดคุกติดตะราง ท่านต้องนิราศร้างภัยใหญ่ สามสิบกว่าปีที่จากไป ดวงใจท่านมิได้เปลี่ยนแปลง
Subscribe to มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง