ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง

บทบาท-ผลงาน
3
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม เวียนมาบรรจบ ผมในฐานะศิษย์เก่า มธ. ของท่านรัฐบุรุษปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอจารึกความรู้สึกไว้ว่า ท่านรัฐบุรุษอาวุโสไม่ได้จากไปไหน เพียงแต่อัฐิธาตุของท่านได้ลอยจากไปท่ามกลางทะเลใสสะอาด แต่ผลงานของท่านยังคงอยู่ และผมระลึกอยู่เสมอว่า ฯพณฯ ปรีดี ได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิดขึ้นแห่งแรกในประเทศไทย คือ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง  ผมกล้าพูดได้ว่า ไม่มีท่าน ไม่มีธรรมศาสตร์ ไม่มีธรรมศาสตร์ ก็ไม่มีพวกเราทุกคน 
ชีวิต-ครอบครัว
28
มิถุนายน
2563
       ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ จักคงคู่ยุคอยู่ทุกสมัย คู่นามปรีดีปรีติชัย ปิ่นประชาธิปไตยไผทนิรันดร์      คือมือประคับป้องประคองมือ ถือธงนำทางร่วมสร้างสรรค์ ร่วมชีพร่วมประชาร่วมประชัน ศักดิ์สามัญแห่งมหาประชาชน      ร่วมทุกข์ร่วมสุขร่วมเสียสละ สมถะ สันโดษ สำแดงหน คัลลองแห่งผู้ตัด อัตตาตน เป็นเยี่ยงอย่างให้ยลอยู่ทุกยาม      โอวาทสุดท้ายที่ธรรมศาสตร์ ดังประกาศ ฝากไว้ในสยาม “นักศึกษาธรรมศาสตร์ ทุกทุกนาม จงมีความสำนึกอยู่เป็นนิตย์
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2563
ในวาระ 86 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอร่วมรำลึกถึงโอกาสพิเศษนี้ผ่านบทความของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (2)" ซึ่งเป็นตอนจบ ที่กล่าวถึงการบริหาร หลักสูตร การเรียนการสอนในยุคที่นายปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ รวมถึงสิ่งที่เรียกว่า ชีวิตและวิญญาณของธรรมศาสตร์ในยุคนั้น
บทบาท-ผลงาน
26
มิถุนายน
2563
ม.ธ.ก. ถือได้ว่าเป็นผลพวงหรือ “คู่แฝด” ของการปฏิวัติสยาม 24 มิถุนายน 2475/ 1932 อย่างไม่ต้องสงสัย หากไม่มี 24 มิถุนายน 2475/1932 ก็อาจจะไม่มี 27 มิถุนายน 2477/1934 (วันสถาปนา ม.ธ.ก.)
บทบาท-ผลงาน
25
มิถุนายน
2563
กราบเรียนท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ท่านอธิการบดี ท่านผู้จัดงาน และท่านผู้ที่เคารพทั้งหลาย
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2563
ท่านนายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่านอธิการบดี ท่านที่เคารพรักทุก ๆ ท่าน
บทบาท-ผลงาน
22
พฤษภาคม
2563
การเปลี่ยนแปลงการปกครองยังไม่ทันผ่านพ้นข้ามปี อาจารย์ปรีดีก็สามารถก่อตั้ง “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง” ขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2476 ในฐานะผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย อาจารย์ปรีดีได้แถลงถึงเจตนารมณ์ของการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้เอาไว้ว่า เพื่อจะได้ช่วยบำบัดความกระหายการศึกษาของราษฎรโดยทั่วไป
Subscribe to มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง