ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

เกร็ดประวัติศาสตร์
22
กรกฎาคม
2568
บทบาทของ ป. อินทรปาลิต ในนามผู้บันทึกวิวัฒนาการของสังคมไทยผ่านนิยายชุด พล นิกร กิมหงวน ที่ดำเนินเรื่องต่อเนื่องกว่า 30 ปี ผลงานของเขามิได้เป็นเพียงความบันเทิง แต่ยังบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์ตั้งแต่ก่อนสงคราม ระหว่างสงคราม และจบสงครามโลกครั้งที่ 2
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2568
ลอร์ดหลุยส์ เมานต์แบตตัน ได้สั่งให้พลโท จี. เอเวิ้นส์ เดินทางมากรุงเทพฯ ในวันที่ 3 กันยายน ในฐานะผู้บัญชาการทหารฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศไทย พร้อมด้วยกองพลอินเดียที่ 7 รวมกำลังพล 17,000 คน มีหน้าที่ในการรวบรวมและปลดอาวุธทหารญี่ปุ่นทั่วราชอาณาจักรซึ่งมีประมาณ 120,000 คน
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ เขียนสดุดีหลวงสังวรยุทธกิจ นายทหารเรือผู้ร่วมอภิวัฒน์ 2475 และขบวนการเสรีไทยอย่างกล้าหาญ และเสียสละ บทความบันทึกบทบาทของหลวงสังวรฯ ในภารกิจลับหลายด้าน รวมถึงการช่วยเหลือสัมพันธมิตร การคุ้มครองพลร่ม และการส่งอาวุธช่วยเวียดนาม
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
กรกฎาคม
2568
ศักดิชัย บำรุงพงศ์ เจ้าของนามปากกา "เสนีย์ เสาวพงศ์" เขียนรำลึกคราวหลังครั้งเป็น "เสรีไทย" ที่ทำงานกับนายทหารสัมพันธมิตรอังกฤษ และ "ท่านชิ้น" ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
กรกฎาคม
2568
ปราโมทย์ พึ่งสุนทร มีบทบาทสำคัญในขบวนการเสรีไทย โดยรับหน้าที่ประจำกองบัญชาการเสรีไทยและมีภารกิจดูแลการต้อนรับนายทหารสัมพันธมิตร เช่น โฮวาร์ด พาลเมอร์ รวมถึงทำงานร่วมกับบุคคลสำคัญ เช่น หลวงสังวรยุทธกิจ (สังวร สุวรรณชีพ) และพันโทสำเริง เนตรายน เพื่อดูแลความปลอดภัยและข่าวกรองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กรกฎาคม
2568
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยได้ดำเนินการเจรจาทางทหารกับฝ่ายสัมพันธมิตรโดยเฉพาะอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เพื่อยุติสถานะสงคราม โดยอังกฤษเสนอให้มีข้อตกลงสองฉบับ คือข้อตกลงทางทหารและข้อตกลงทางการเมือง แต่ถูกสหรัฐคัดค้านเนื่องจากเกรงว่าจะกระทบเอกราชไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2568
รัฐบาลไทยภายใต้การนำของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้ประกาศสันติภาพ ยกเลิกการประกาศสงครามของจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยถือว่าเป็นโมฆะและไม่ผูกพันประชาชนชาวไทย เพื่อแสดงเจตจำนงของชาติที่แท้จริงที่ต้องการสันติภาพ และฟื้นฟูความสัมพันธ์กับสหประชาชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
มิถุนายน
2568
วิเคราะห์ช่วงอวสานของสงครามแปซิฟิก โดยเจาะลึกยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตรและการยอมแพ้ของญี่ปุ่น พร้อมทั้งชี้ให้เห็นบทบาทของไทยในฉากเปลี่ยนผ่านสู่โลกหลังสงครามภายใต้แรงกดดันของอำนาจโลก
แนวคิด-ปรัชญา
11
มิถุนายน
2568
ขบวนการเสรีไทยที่ร่วมมือกับ OSS และ SOE เพื่อต่อต้านญี่ปุ่น โดยทำงานลับผ่านการสื่อสาร ข่าวกรอง และฝึกพลพรรคทั่วประเทศ ขณะที่ท่านปรีดีวางแผนจัดตั้งรัฐบาลนิยมสัมพันธมิตรในเวลาที่เหมาะสม
บทบาท-ผลงาน
9
มิถุนายน
2568
บทบาทสำคัญและความสัมพันธ์ของปรีดี พนมยงค์ ต่อสถาบันกษัตริย์ ในการอัญเชิญพระองค์เจ้าอานันทมหิดลขึ้นเป็นรัชกาลที่ 8 ตามกฎมณเฑียรบาล เพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีและสร้างความปรองดองต่อทุกฝ่ายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2